Page 74 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 74

สถานะ (SCA) ใน GANHRI ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์          3.3) การติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ
             เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565 เกี่ยวกับผลการประเมิน  ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กสม. จัดตั้งหน่วยงาน
             สถานะของ กสม. ไทย โดยใน Session การประเมิน       ภายในขึ้นเป็นหน่วยเฉพาะเพื่อติดตามการปฏิบัติตาม

             ของ SCA เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2565 มีรายละเอียด ดังนี้  ข้อเสนอแนะของ  กสม.  อย่างใกล้ชิดและจริงจัง
                                                              จึงเสนอแนะให้ กสม. ด�าเนินการติดตามผล (Follow-up)
                1) SCA ได้เสนอให้ กสม. ได้รับสถานะ A          อย่างเข้มงวดต่อไป



                2) SCA ชื่นชมความพยายามอย่างต่อเนื่องของ กสม.       3.4) ความเป็นพหุนิยมและความหลากหลาย
             ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย  ของสมาชิกและเจ้าหน้าที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชน
             รวมถึงความพยายามที่จะด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ  แห่งชาติจะช่วยอ�านวยให้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
             ของ SCA ในครั้งก่อน โดยการผลักดันผ่านกิจกรรม  มีคุณค่าและมีความสามารถในการจัดการกับปัญหา

             ต่าง ๆ นับตั้งแต่การเข้ารับการทบทวนการประเมิน    สิทธิมนุษยชนทั้งหมดที่มีผลกระทบต่อสังคมในพื้นที่
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
             สถานะครั้งล่าสุดเมื่อปี 2563 อาทิ การจัดท�าร่าง  ด�าเนินการ และยังเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนทุกคน
             กฎหมายเพื่อแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ    ในประเทศไทยสามารถเข้าถึงสถาบันสิทธิมนุษยชน
             ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้ยกเลิก   แห่งชาติได้

             มาตรา 26 (4) และเสนอแนะให้ยกเลิกมาตรา 247 (4)
             ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช             3.5) การท�าหน้าที่กึ่งตุลาการ ตามที่ กสม. ได้จัดท�า
             2560                                             ร่างกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบ
                                                              รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                3)  SCA  ให้ข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติหน้าที่  ให้ กสม. มีอ�านาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โดยร่างกฎหมาย
             ของ กสม. 5 ประเด็น ประกอบด้วย                    ฉบับแก้ไขผ่านกระบวนการปรึกษาหารือสาธารณะแล้ว
                                                              และได้เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อน�าเข้าสู่การพิจารณา
                   3.1)  การสนับสนุนการให้สัตยาบัน/หรือ  ของรัฐสภาแล้ว จึงเสนอแนะให้ กสม. ด�าเนินความ

             ภาคยานุวัติตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน   พยายามเพื่อผลักดันให้มีการขยายหน้าที่และอ�านาจ
             ตามที่ กสม. ได้เสนอแนะให้รัฐบาลไทยให้สัตยาบัน  ในการจัดการเรื่องร้องเรียนให้รวมถึงอ�านาจในการแสวงหา
             ในพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมาน   ข้อยุติของข้อพิพาทโดยสมานฉันท์ผ่านกระบวนการ
             (OPCAT)  และอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย  ไกล่เกลี่ยต่อไป

             การคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูก
             บังคับ (CPED) จึงเสนอแนะให้ กสม. ด�าเนินการตามอาณัติ
             ของตนโดยการสนับสนุนให้เกิดการให้สัตยาบันหรือ
             ภาคยานุวัติตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน



                   3.2) การด�าเนินความร่วมมือกับภาคประชาสังคม
             ตามที่ กสม. ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความร่วมมือของ
             กสม.  กับองค์กรภาคประชาสังคม  จึงเสนอแนะ

             ให้ กสม. ด�าเนินการเสริมสร้างความสัมพันธ์อย่าง      หลังจากที่ กสม. ได้รับพิจารณาสถานะกลับสู่สถานะ
             เป็นทางการในการท�างานและการสร้างความร่วมมือ  A แล้ว เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2565 ส�านักงาน กสม.
             กับองค์กรภาคประชาสังคมและนักปกป้องสิทธิมนุษยชน  ได้จัดเวทีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อทบทวนภายหลัง
             ในวงกว้างที่สุด                                  การประเมินสถานะของ กสม. ให้กับเจ้าหน้าที่ภายใน


       72
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79