Page 78 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 78

ผลด�าเนินการหรือความคืบหน้าในปีงบประมาณถัดไป  นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ยังคงมี
             ทั้งนี้ มีหลายกรณีที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่สามารถ  บทบัญญัติบางประการที่ไม่เป็นไปตามข้อเสนอแนะ
             แจ้งผลการปฏิบัติที่ชัดเจนได้ แม้ส่วนราชการจะได้ตอบรับ  ของ กสม. เช่น การก�าหนดองค์ประกอบของการกระท�า

             ว่าเห็นด้วยกับข้อเสนอของ กสม. อาจเนื่องมาจาก     ทรมาน  ที่ยังไม่สอดคล้องกับนิยามที่กฎหมาย
             ข้อเสนอของ  กสม.  มีลักษณะเป็นข้อเสนอแนะ  สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศบัญญัติไว้  เป็นต้น
             เชิงนโยบาย แตกต่างจากข้อเสนอแนะในรายงาน          ส�านักงาน กสม. จึงยังต้องติดตามการออกกฎ ระเบียบ
             ผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เป็น         หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อรองรับการบังคับใช้กฎหมาย

             มาตรการหรือแนวทางปฏิบัติที่มีความชัดเจนในตัว     ฉบับนี้ เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาเสนอแนะให้
             ว่าจะให้ส่วนราชการปฏิบัติอย่างไรด้วยวิธีการใด   แก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้อง
             เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน             และเป็นไปตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและ
                                                              การประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม

                ส่วนข้อเสนอในรายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี  หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
             งบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ขอให้รัฐบาลแก้ไขเพิ่มเติม  Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment
             พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ  or Punishment: CAT)
             สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 เพื่อยกเลิกหน้าที่
             และอ�านาจของ กสม. ในการชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริง  3.8 การบริหารจัดการและการพัฒนา

             ที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์   องค์กร
             เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้อง
             หรือไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 26 (4) และเพื่อก�าหนดให้   ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กสม. ให้ความส�าคัญ

             กสม. มีอ�านาจไกล่เกลี่ยบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  กับการพัฒนาส�านักงาน  กสม.  ให้เป็นองค์กรที่มี
             ที่จะท�าให้คู่กรณีท�าความตกลงเพื่อประนีประนอม  “สมรรถนะสูง (High Performance)” เพื่อให้
             และแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน พบว่า หน่วยงาน  สามารถสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ได้อย่าง
             ของรัฐยังขาดความเข้าใจในกระบวนการแก้ไข           มีประสิทธิภาพ โดยเน้นการน�าระบบเทคโนโลยีดิจิทัล

             กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่ กสม. ไม่อาจกระท�าการ  การบริหารจัดการสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนา
             ได้โดยง่ายโดยปราศจากความร่วมมือจากรัฐบาล  กระบวนการท�างานและองค์ความรู้ขององค์กร รวมถึง
             ในการให้ความสนับสนุน  ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่าง
             การรวบรวมความเห็นจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง

             นอกจากนี้ ในส่วนของข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข
             ปรับปรุงกฎหมาย กรณีร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการ
             ด�าเนินงานขององค์กรที่ไม่แสวงหารายได้หรือก�าไร
             มาแบ่งปันกัน พ.ศ. .... พบว่า ส่วนใหญ่สอดคล้องกับ

             ข้อเสนอแนะของ กสม. แต่ยังคงต้องติดตามประเด็น
             ส�าคัญบางประเด็นของร่างกฎหมายฉบับนี้ต่อไป เนื่องจาก
             ยังอยู่ในขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของกระทรวง
             การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมถึง

             พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมาน
             และการกระท�าให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 แม้ว่า
             จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565
             และจะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นก�าหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวัน


       76
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83