Page 72 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 72
3) การพัฒนาความร่วมมือกับภาคธุรกิจเพื่อขับเคลื่อน 3.4.5 การกระตุ้นและสร้างบุคคลต้นแบบ
ประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน กสม. ได้ประชุม ด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Idol)
หารือร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตเพื่อขับเคลื่อน กสม. ได้คัดเลือกบุคคลและองค์กรที่มีผลงานดีเด่น
ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนให้กับภาคธุรกิจในพื้นที่จังหวัด ด้านการส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ภูเก็ต และหารือแนวทางการส่งเสริมและสร้างความ ประจ�าปี 2564 เพื่อยกย่อง เชิดชู และประกาศ
ตระหนักรู้เกี่ยวกับบทบาทของภาคธุรกิจในการเคารพ เกียรติคุณบุคคลและองค์กรที่อุทิศตนปฏิบัติงาน
สิทธิมนุษยชน รวมถึงผลที่จะได้รับจากการด�าเนินธุรกิจ เพื่อส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้สังคม
ที่สอดคล้องกับหลักการชี้แนะสหประชาชาติว่าด้วย ได้รับรู้ สร้างขวัญก�าลังใจ ตลอดจนเพื่อประชาสัมพันธ์
ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (United Nations Guiding และเผยแพร่ประวัติ ผลงานที่ได้รับรางวัลให้เป็น
Principles on Business and Human Rights: UNGPs) แบบอย่างและเป็นแรงบันดาลใจแก่บุคคลอื่นในสังคม
อันจะส่งผลให้เกิดการขับเคลื่อนการด�าเนินงาน บุคคลและองค์กรดีเด่นที่จะได้รับการคัดเลือก 8 รางวัล
อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ ประกอบด้วย (1) ประเภทบุคคลทั่วไป 6 รางวัล
รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ในการส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภาพรวม (2) ประเภทองค์กรภาครัฐ 1 รางวัล และ (3) ประเภท
ทั้งนี้ กสม. มีความมุ่งหวังให้ภาคธุรกิจมีผลประกอบ องค์กรภาคเอกชน 1 รางวัล ทั้งนี้ ได้ก�าหนดพิธี
การที่ดี มีการค�านึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง มอบรางวัลประจ�าปี 2564 ในงานวันสิทธิมนุษยชนสากล
สังคม และสิ่งแวดล้อม และการบูรณาการร่วมกัน 10 ธันวาคม 2565 ซึ่งจะจัดในวันที่ 13 ธันวาคม 2565
ระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคธุรกิจในการ
ส่งเสริม ปกป้องและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 3.5 การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน
การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนเป็นเครื่องมือส�าคัญ
ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 2 ซึ่งเน้นการด�าเนินงาน
ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างอย่างเป็นระบบ
เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน ในปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 มีการศึกษาวิจัยเพื่อน�าผล
การศึกษามาประกอบการจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวม 7 โครงการ ดังนี้
โครงการศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ด�าเนินการแล้วเสร็จ 1) โครงการศึกษาแนวทางการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผู้ต้องขังสูงอายุ
จ�านวน 3 โครงการ ในประเทศไทย *
2) โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
กรณีการด�าเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารออนไลน์ *
3) โครงการจัดท�าข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555
อยู่ระหว่างด�าเนินการศึกษา 1) โครงการวิจัยธุรกิจเหมืองทองค�ากับการละเมิดสิทธิมนุษยชนปัญหาแนวทาง
จ�านวน 4 โครงการ การแก้ไขในอนาคต *
2) โครงการวิจัยผลกระทบอุตสาหกรรมเกษตรกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน:
น�้าตาลกับห่วงโซ่อุปทาน *
3) โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและคุ้มครองนักปกป้อง
สิทธิมนุษยชน *
4) โครงการส�ารวจจัดท�าข้อมูลและข้อเสนอในการแก้ไขปัญหาด้านสิทธิในสถานะ
บุคคลตามกฎหมายของประชากรที่ไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการขอรับรอง
ความเป็นคนไทยพลัดถิ่นในพื้นที่จังหวัดชุมพร ระนอง ประจวบคีรีขันธ์ และพังงา
70 * เป็นโครงการวิจัยที่ได้รับงบประมาณจากส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)