Page 70 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 70

ได้แก่ กิจกรรม “สรุปบทเรียน 20 ปี เครือข่ายแก้ไข
                                                              ปัญหาสถานะบุคคล  กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น  10  ปี
                                                              กฎหมายพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555

                                                              สู่ความเป็นพลเมืองไทย” ระหว่างวันที่ 28 - 29
                                                              พฤษภาคม  2565  ที่จังหวัดระนอง  ร่วมกับมูลนิธิ
                                                              ชุมชนไท ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม
             เพื่อให้ความเห็นประกอบการตรวจสอบ เนื่องจาก กสม.   (P-Move) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

             ได้มีข้อเสนอแนะเรื่องสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและ   วิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อสังคม  มหาวิทยาลัยรังสิต
             ร่างกาย อันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรม  ส�านักข่าว The Reporter และส�านักข่าวไทยพีบีเอส
             กรณีกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ายความมั่นคง  สืบเนื่องจากในช่วงระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมาปัญหา
             ท�าร้ายร่างกายในระหว่างการควบคุมตัว ท�าให้ได้รับ  การไม่มีสัญชาติไทยและการเข้าไม่ถึงสิทธิใน

             บาดเจ็บสาหัสและเสียชีวิต เสนอไปยัง กอ.รมน. ภาค 4   การเป็นคนไทยพลัดถิ่นยังคงอยู่ แม้จะมีการบังคับใช้
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
             ส่วนหน้า โดยข้อเสนอแนะดังกล่าวระบุให้มีการบันทึก  พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ 2555 แต่ยังพบ
             ภาพเคลื่อนไหวในทุกขั้นตอนการควบคุมตัวบุคคล  ข้อจ�ากัดในการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ที่เกี่ยวข้อง
             เพื่อซักถาม ให้มีการขอความเห็นที่สองทางการแพทย์  ส่งผลให้เกิดความล่าช้าเรื่องสิทธิและสุขภาวะของ

             ในขั้นตอนการตรวจร่างกายผู้ถูกควบคุมตัวจากแพทย์  กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มตกส�ารวจ
             ที่ไม่ใช่หน่วยงานความมั่นคง เปิดโอกาสให้ผู้ถูกควบคุม  กลุ่มพลัดหลงทางทะเบียน กลุ่มถูกจ�าหน่ายฯ และ
             ที่บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยได้รับการรักษาพยาบาลอย่าง  กลุ่มมุสลิมมะริด ที่ยังเข้าไม่ถึงสิทธิตามกฎหมาย
             เป็นอิสระ และในการสืบสวนสอบสวนเพื่อให้ทราบ

             ข้อเท็จจริงกรณีที่ผู้ถูกควบคุมตัวได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วย
             หรือเสียชีวิต ควรให้มีหน่วยงานภายนอกอื่นหรือญาติ
             มีส่วนร่วมในการสืบสวนข้อเท็จจริงด้วย นอกจากนี้
             ส�านักงาน กสม. ได้ประชุมหารือร่วมกับผู้อ�านวยการ

             โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ ถึงแนวทาง
             การให้ความเห็นที่สองทางการแพทย์ในขั้นตอน
             การตรวจร่างกายและสภาพจิตใจของผู้ถูกควบคุมตัว
             เพื่อประกอบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนที่กล่าวอ้างว่า

             มีการซ้อมทรมาน  ซึ่งโรงพยาบาลจิตเวชสงขลา  3.4.4 การพัฒนาความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน
             ราชนครินทร์ ยินดีให้ความร่วมมือกับส�านักงาน กสม.  กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ
             ในการจัดท�าหลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม  และภาคเอกชน
             ศักยภาพการตรวจพิสูจน์และให้ความเห็นทางการแพทย์      1) การพัฒนาความร่วมมือกับกระทรวงการอุดมศึกษา

             ส�าหรับใช้ประกอบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียน  วิทยาศาสตร์  วิจัย  และนวัตกรรม  เมื่อวันที่  20
             ที่กล่าวอ้างว่ามีการซ้อมทรมาน โดยจะเริ่มการอบรมน�าร่อง  มิถุนายน 2565 เลขาธิการ กสม. ได้ร่วมประชุมหารือ
             ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งมีข้อร้องเรียน  ร่วมกับรองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
             อันเกี่ยวเนื่องกับการซ้อมทรมานเป็นจ�านวนมากก่อน  วิจัย  และนวัตกรรม  เกี่ยวกับการส่งเสริมบทบาท

                                                              ของศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน
                5) โครงการประสานความร่วมมือกับเครือข่าย       ในภูมิภาคในการเสริมสร้างความตระหนักรู้และปลูกฝัง
             และสนับสนุนความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนงาน  ค่านิยมเรื่องสิทธิมนุษยชนในกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่
             ด้านสิทธิมนุษยชน มีกิจกรรมที่ส�าคัญภายใต้โครงการฯ   ผ่านการจัดท�าหลักสูตรการเรียนการสอน และการสนับสนุน


       68
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75