Page 69 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 69
ให้บริการทางทะเบียนและจัดท�าบัตรประจ�าตัว ข้อเสนอแนะจากภาคประชาชน รวมทั้งร่วมกับผู้แทน
ส�าหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน (บุคคล หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน เช่น ผู้แทน
ประเภท 0) จ�านวน 236 คน และมีเวทีประชาคม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส�านักงาน
ต้นแบบเพื่อแก้ไขปัญหากลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ก�านัน
ทางทะเบียน กรณีบุคคลเชื้อสายลาวที่อพยพเข้ามา ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และเครือข่าย
อาศัยอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่ในอดีต โดยปัจจุบัน ที่ท�างานเรื่องช้าง จัดท�าแผนบูรณาการการแก้ไข
มีภูมิล�าเนาอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานาน ปัญหาระหว่างภาครัฐและภาคประชาชนเพื่อเสนอ
จ�านวน 25 ราย ทั้งนี้ การจัดโครงการในพื้นที่ ต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดเวทีครั้งนี้
จังหวัดอุบลราชธานีซึ่งเป็นพื้นที่น�าร่องเป็นการแสดง เป็นผลสืบเนื่องจากที่ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียน
เจตจ�านงในรูปแบบภาคีร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ กรณีปัญหาช้างป่าอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิและเสรีภาพ
และภาคประชาสังคม เพื่อแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชน ในชีวิตและร่างกาย และสิทธิของบุคคลในทรัพย์สิน
ในประเด็นเกี่ยวกับสถานะบุคคลในพื้นที่ ซึ่งจะ กสม. ให้ความส�าคัญกับการลงพื้นที่เพื่อรับฟังเสียง
มีการน�าความส�าเร็จดังกล่าวไปขยายผลและต่อยอด จากประชาชนผู้ได้รับผลกระทบ และหารือกับหน่วยงาน
ในพื้นที่อื่นต่อไป ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท�า
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
3) การฝึกอบรมการป้องกันการทรมาน: การแสวงหา
ข้อเท็จจริงจากผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง
ส�านักงาน กสม. ร่วมกับมูลนิธิผสานวัฒนธรรม และ ผลการด�าเนินงาน ในภาพรวม
ส�านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
(The Office of the High Commissioner for Human
Rights: OHCHR) จัดการฝึกอบรมการป้องกัน
การทรมาน: การแสวงหาข้อเท็จจริงจากผู้ได้รับ
ผลกระทบจากความรุนแรง ระหว่างวันที่ 9 - 11 มีนาคม บทที่
3
2565 เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการกระท�า
ทรมาน หลักการ แนวทางและวิธีการดูแลผู้ได้รับ
ผลกระทบจากการกระท�าที่รุนแรง การกระท�าทรมาน
อย่างเป็นระบบเพื่อปรับใช้ในการแสวงหาข้อเท็จจริง
ข้อมูล การละเมิดสิทธิมนุษยชนทางร่างกาย จิตวิทยา
และจิตสังคม รวมถึงการแบ่งปันประสบการณ์
ด้านการให้ค�าปรึกษาแก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท�า
2) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดท�าแผนบูรณาการ ทรมาน
ช้างป่าภาคประชาชน จ�านวน 2 ครั้ง โดย กสม.
ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดท�าแผนบูรณาการ 4) การจัดท�าหลักสูตรอบรมบุคลากรทางการแพทย์
ช้างป่าภาคประชาชน พื้นที่ภาคตะวันออก ระหว่าง เพื่อให้ความเห็นประกอบการตรวจสอบการละเมิด
วันที่ 9 - 10 กรกฎาคม 2565 ที่องค์การบริหารส่วน สิทธิมนุษยชน กสม. ได้หารือร่วมกับกองอ�านวยการ
จังหวัดชลบุรี และพื้นที่ภาคตะวันตก ระหว่างวันที่ รักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ภาค 4 ส่วนหน้า
19 - 20 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเคียงธารา ติดตามการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนการซ้อมทรมาน
เขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อรวบรวม และเตรียมจัดท�าหลักสูตรอบรมบุคลากรทางการแพทย์
67