Page 200 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 200

นอกกระบวนการยุติธรรมโดยเทียบเคียงจากหลักเกณฑ์ ๔.๓  การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ
            ตามข้อ ๓๑ ของหลักการชี้แนะ UNGPs ได้แก่ ความชอบ กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้มีปัญหา
            ด้วยกฎหมาย เข้าถึงได้ คาดหมายได้ เป็นธรรม โปร่งใส  สถานะและสิทธิ สตรี

            สอดคล้อง เป็นแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ขอเสนอ
            ให้รัฐบาลพิจารณาว่ากลไกการร้องทุกข์นอกกระบวนการ ๔.๓.๑ กลุ่มผู้สูงอายุ
            ยุติธรรมเหล่านั้นยังไม่สอดคล้องกับหลักการชี้แนะ     กสม. ชุดที่ ๓ ได้น�ากระบวนการ “การไต่สวน
            UNGPs เห็นควรเสนอให้รัฐบาลพิจารณาเพิ่มอ�านาจให้แก่  สาธารณะ (public inquiry) ” มาใช้ในการศึกษา
                                                                                        ๔๒
            หน่วยงานดังกล่าวให้ครอบคลุมและเพียงพอเพื่อแก้ไข และจัดท�าข้อเสนอแนะ โดยได้แต่งตั้งคณะท�างานจัดท�า
            ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรม ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ทางธุรกิจ นอกจากนั้น ควรระบุมาตรการที่รัฐบาลควร  คุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้สูงอายุและคนพิการ แบ่งการ
            ให้การสนับสนุนการด�าเนินการของ กสม. อย่างเต็มที่   ด�าเนินการออกเป็น ๓ ด้าน ได้แก่ การด�าเนินการภายใต้
            เพื่อ กสม. จะได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกลไกการแก้ไข การไต่สวนสาธารณะ การศึกษาวิจัยเพื่อสนับสนุนการจัดท�า
            ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ข้อเสนอแนะ และการจัดท�าข้อเสนอแนะมาตรการหรือ
            ทางธุรกิจได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ         แนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ดังนี้
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ

                ผลการด�าเนินการ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๒๘   ๑)  การดำาเนินการภายใต้กระบวนการไต่สวน
            สิงหาคม  ๒๕๖๑  เห็นชอบกับข้อเสนอของ  กสม.   สาธารณะ
            ทั้ง ๑๒ ประเด็น ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ได้เสนอให้ส่งรายงาน  ประกอบด้วยการลงพื้นที่ การจัดประชุมรับฟังความเห็น
            สรุปผลการพิจารณาให้กระทรวงยุติธรรมน�าไปประกอบ ดังนี้
            การจัดท�าแผน NAP ต่อไป ต่อมา คณะรัฐมนตรีมีมติ
            เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๒ เห็นชอบและประกาศใช้      ๑.๑) การลงพื้นที่ที่จังหวัดต่าง ๆ ใน ๔ ภูมิภาค ได้แก่
            แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน   ๑) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดขอนแก่น ระหว่าง
            ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕) ตามที่กระทรวงยุติธรรม วันที่ ๑๓ - ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ๒) ภาคตะวันออก

            เสนอ ส่งผลให้ไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียที่ประกาศ  ที่จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ ๓ - ๔ สิงหาคม ๒๕๖๐
            ใช้แผน NAP                                       ๓) ภาคเหนือ ที่จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑
                                                             สิงหาคม ๒๕๖๐ และ ๔) ภาคใต้ ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี
            ๔.๒.๔ การจัดท�าหลักสูตรและฝึกอบรม                ระหว่างวันที่ ๒๘ - ๒๙ กันยายน ๒๕๖๐ นอกจากนี้
                ในปี ๒๕๖๒ กสม.ชุดที่ ๓ ร่วมกับ สถาบันระหว่าง ได้ท�าแบบสอบถามส�าหรับส�ารวจปัญหาเกี่ยวกับการด�ารงชีวิต
            ประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์กรมหาชน) จัดท�า  ของผู้สูงอายุและการเข้าถึงสวัสดิการต่าง ๆ และความเห็น
            หลักสูตรธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนส�าหรับรัฐวิสาหกิจและ  เกี่ยวกับสิทธิของผู้สูงอายุ โดยเป็นการสอบถามและส�ารวจ
            จัดอบรมให้แก่ผู้แทนรัฐวิสาหกิจจ�านวน ๕๖ แห่ง และ บุคคลและหน่วยงานในระดับพื้นที่
            หลักสูตรสิทธิมนุษยชนและประเด็นธุรกิจ การค้า การลงทุน

            ที่เกี่ยวข้อง จัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ส�านักงาน กสม.    ๑.๒) การจัดประชุมเพื่อรับทราบการด�าเนินงาน
            ในปี ๒๕๖๓ ได้ร่วมกับ ก.ล.ต. จัดท�าหลักสูตรธุรกิจกับ  ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุ รวมทั้ง
            สิทธิมนุษยชน ส�าหรับภาคธุรกิจในตลาดหุ้น (ดูรายละเอียด  ปัญหาอุปสรรคจากหน่วยงานภาครัฐ ๒ ครั้ง เมื่อ
            ในบทที่ ๓ หัวข้อ ๓.๕)                            วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๑ และวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑
                                                             ณ ส�านักงาน กสม. โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานของรัฐ

            ๔๒  การไต่สวนสาธารณะ หรือการไต่สวนสาธารณะในกรณีมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ หมายถึง การไต่สวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น
              อย่างเป็นระบบ โดยให้ประชาชนและสังคมเข้ามามีส่วนร่วม มีการด�าเนินการที่โปร่งใส เปิดเผยต่อสาธารณะ เป็นการศึกษา รวบรวมหลักฐานจากพยาน และ
              ผู้เชี่ยวชาญ มีการตรวจสอบแบบแผนอย่างเป็นระบบของการละเมิดสิทธิมนุษยชน มีการพิสูจน์ให้ทราบถึงข้อค้นพบและจัดท�าเป็นข้อเสนอแนะ วิธีการด�าเนินการ
              จะเป็นการผนวกการปฏิบัติหน้าที่ด้านต่าง ๆ ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน การศึกษา
              วิเคราะห์ การรายงาน การให้ค�าแนะน�าและการจัดท�าข้อเสนอแนะ การเสริมสร้างความตระหนักให้แก่สังคมและสิทธิมนุษยชนศึกษา



       198
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205