Page 201 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 201
ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุม ๑๓ แห่ง เช่น กรมกิจการ ข้อคิดเห็นในประเด็นสิทธิมนุษยชนของผู้สูงอายุกรณี
ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง การเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุในมิติเศรษฐกิจและสังคม 1
ของมนุษย์ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม มิติสุขภาพและคุณภาพชีวิต และมิติกระบวนการยุติธรรม
ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรมส่งเสริม ผู้เข้าร่วมประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานรัฐ องค์กร 2
การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ส�านักอนามัย เอกชน ภาคประชาสังคม และนักวิชาการจากสถาบัน
ผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข กรมการจัดหางาน การศึกษา ผลที่ได้จากการเสวนาวิชาการ คือ การเผยแพร่ 3
กระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน องค์ความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนของผู้สูงอายุในมิติเศรษฐกิจ
กระทรวงแรงงาน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้เชิญผู้จัดการ และสังคม มิติสุขภาพและคุณภาพชีวิตในการอ�านวยการ
ชุดโครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ ให้เข้าถึงสิทธิผู้สูงอายุในบริบทของประเทศไทยเพื่อเตรียม 4
ผู้สูงอายุของมูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาผู้สูงอายุไทย รับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรในการเข้าสู่สังคม
เข้าร่วมประชุมด้วย ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๔ 5
๑.๓) การจัดประชุมเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นต่อร่าง ๓) การจัดทำาข้อเสนอแนะ ที่ ๑/๒๕๖๓ เรื่อง
ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริม
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้สูงอายุ เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน และคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุ
๒๕๖๑ ณ กรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมประมาณ ๑๕๐ คน กสม. ได้แต่งตั้งคณะท�างานจัดท�าข้อเสนอแนะ
จากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง
ผู้แทนจากภาคประชาสังคมและสถาบันการศึกษา และ สิทธิมนุษยชนของผู้สูงอายุ โดยศึกษาข้อเท็จจริง
การจัดประชุมเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ บทบัญญัติของกฎหมาย เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ของ กสม. เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๑ โดยมีหน่วยงาน การลงพื้นที่ การจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น
ภาครัฐที่ด�าเนินงานด้านผู้สูงอายุเข้าร่วมประชุมด้วย จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และการศึกษาดูงาน เพื่อเป็น
ข้อค้นพบที่ได้จากการรับฟังข้อคิดเห็นในครั้งนี้ ได้แก่ ข้อมูลประกอบการจัดท�าข้อเสนอแนะมาตรการหรือ
ความเห็นและมุมมองในบริบทการเข้าถึงสิทธิผู้สูงอายุ แนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ในด้านต่าง ๆ อาทิ สิทธิในที่อยู่อาศัย สิทธิด้านสุขภาพ ของผู้สูงอายุ โดยมีข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีและ
สิทธิด้านหลักประกันรายได้ สิทธิในการท�างาน สิทธิใน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
การศึกษาตลอดชีวิต สิทธิในการได้รับความคุ้มครองจาก
การถูกทอดทิ้ง การถูกกระท�ารุนแรงและถูกแสวงประโยชน์ ๓.๑) ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์และนโยบายในภาพรวม ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
รวมถึงสิทธิในการได้รับความคุ้มครองในสภาวะภัยพิบัติ ๓.๑.๑) คณะรัฐมนตรี ควรพิจารณาก�าหนดนโยบาย
และสนับสนุนการด�าเนินการของคณะกรรมการผู้สูงอายุ
๒) การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ แห่งชาติ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของ
กสม. ชุดที่ ๓ ได้จัดให้มีการศึกษาวิจัย เรื่อง “ข้อเสนอ ผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับหลักการว่าด้วยผู้สูงอายุของ
แนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริม สหประชาชาติ และด�าเนินงานร่วมกันอย่างบูรณาการภายใต้
สิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ” ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในด้าน
ซึ่งมีข้อค้นพบและข้อเสนอจากงานวิจัยเกี่ยวกับ ทรัพยากรมนุษย์ ตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
การก�าหนดนโยบายเกี่ยวกับจ้างงานผู้สูงอายุ นโยบาย และแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
ประกันความมั่นคงให้แก่ผู้สูงอายุนอกเหนือจากการให้
สวัสดิการระยะสั้น นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตร ๓.๑.๒) คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ควรก�าหนด
ต่อผู้สูงอายุทั้งภายในที่อยู่อาศัยและภายนอกที่อยู่อาศัย นโยบายและแผนผู้สูงอายุแห่งชาติให้ครอบคลุมถึง
เป็นต้น และได้จัดเสวนาวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงาน การคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนการเข้าถึง
การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน (สิทธิผู้สูงอายุ) เมื่อวันที่ สิทธิมนุษยชนของผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย
๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ ณ กรุงเทพมหานคร เพื่อแลกเปลี่ยน สิทธิในที่อยู่อาศัยโดยคุ้มครองให้ผู้สูงอายุมีความมั่นคง
199