Page 162 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 162
• กิจกรรมค่ายเยาวชนส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ๒) การดำาเนินการที่นำาไปสู่การส่งเสริมความร่วมมือ
มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนิสิต นักศึกษาในสถาบัน และการประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ
อุดมศึกษาภาคเหนือและภาคกลางข้างต้น องค์กรเอกชน และองค์กรภาคีเครือข่าย
เป็นการจัดโครงการ การสัมมนา การประชุม การจัดงาน
นอกจากนี้ ในปี ๒๕๕๙ ได้มีโครงการส�าคัญภายใต้ และการให้รางวัล การจัดเวทีสาธารณะ การแลกเปลี่ยนและ
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการพิสูจน์และรับรอง รับฟังความเห็นจากบุคคลหรือหน่วยงานจากหลากหลาย
ความเป็นคนไทยพลัดถิ่น อันเป็นความร่วมมือระหว่าง กสม. ภาคส่วนในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ทั้งยังเป็น
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มหาวิทยาลัยรังสิต การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการสานต่อความร่วมมือ
ส�านักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ มูลนิธิ และประสานการท�างานในการส่งเสริมและคุ้มครอง
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ชุมชนไท ดังนี้ สิทธิมนุษยชน ระหว่าง กสม. หน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจน
• โครงการสนับสนุนนักศึกษาเพื่อปฏิบัติการ องค์กรภาคีเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน ดังนี้
ตามข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการ
พิสูจน์ และรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่น ๒.๑) โครงการ กสม. พบประชาชน เป็นการจัดเวที
ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดย กสม. ชุดที่ ๓ สาธารณะเพื่อท�าความรู้จัก พบปะและแลกเปลี่ยน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
ได้สนับสนุนการเก็บข้อมูลคนไทยพลัดถิ่น ความเห็นระหว่าง กสม. และเครือข่าย ทั้งที่เป็นหน่วยงาน
ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ แล้วน�ามาประกอบ ของรัฐ องค์กรเอกชน ภาคประชาสังคม และสถาบันการ
การพัฒนาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และ ศึกษา ในภาคต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการพัฒนาความร่วมมือ
ข้อเสนอแนะทางกฎหมาย เพื่อคุ้มครอง ระดับภาคร่วมกับเครือข่ายในการส่งเสริมและคุ้มครอง
สิทธิสถานะบุคคลแก่คนไทยพลัดถิ่นเพื่อเสนอ สิทธิมนุษยชน และการรับฟังสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
ต่อสภานิติบัญญัติ รัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ ที่สะท้อนจากประชาชนในพื้นที่ ในปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐
• โครงการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนของกลุ่มชาติพันธุ์ กสม. ชุดที่ ๓ ได้จัดเวทีสาธารณะ “กสม. พบประชาชน” ดังนี้
และคนไทยพลัดถิ่น เป็นโครงการต่อเนื่องจาก • ปี ๒๕๕๙ จัดขึ้นจ�านวน ๔ ครั้ง ได้แก่ ๑) ภาค
โครงการข้างต้น และได้เพิ่มองค์กรความร่วมมือ ตะวันออกเฉียงเหนือ จัดที่จังหวัดขอนแก่น
กับขึ้นมาอีก ๑ แห่ง คือมหาวิทยาลัยทักษิณ ในประเด็นทรัพยากรป่าไม้และที่ดิน น�้า
มีกิจกรรม คือ กิจกรรมรวมญาติชาติพันธุ์ชาวเล การท�าการประมง เหมืองแร่ ผังเมือง ฯลฯ
ภายใต้หัวข้อ “เหลียวหลังแลหน้า ๙ ปี มติ ครม. ๒) ภาคเหนือ จัดที่จังหวัดเชียงใหม่ ในประเด็น
ชาวเล” ระหว่างวันที่ ๑ - ๒ ธันวาคม ๒๕๖๑ ปัญหาสถานะบุคคลและการเข้าถึงสิทธิขั้น
ณ จังหวัดพังงา เพื่อส่งเสริมการพัฒนา พื้นฐาน สิทธิของเด็กและการศึกษา การค้ามนุษย์
สิทธิต่าง ๆ ของกลุ่มชาวเลอย่างยั่งยืน และติดตาม สิทธิชุมชนที่เกี่ยวกับการเข้าถึงทรัพยากรที่ดิน
การปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒ และน�้า ฯลฯ ๓) ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตก
มิถุนายน ๒๕๕๓ เรื่องการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล และภาคตะวันออก) จัดที่จังหวัดชลบุรี ในประเด็น
และกิจกรรมร่วมกับนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต แรงงาน แรงงานข้ามชาติ แรงงานในระบบ
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ส�านักการ และนอกระบบสิทธิชุมชนและฐานทรัพยากร
ประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ และมูลนิธิ ความเป็นธรรมทางเพศ ฯลฯ และ ๔) ภาคใต้
ชุมชนไท เพื่อจัดเก็บข้อมูลของกลุ่มคนไทย จัดที่จังหวัดสงขลา ในประเด็นสถานการณ์
พลัดถิ่น ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตราด สิทธิมนุษยชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้
และระนอง โดยเป็นการจัดเก็บข้อมูลคนไทย กลุ่มชาติพันธุ์ ประมงพื้นบ้าน โครงการพัฒนา
พลัดถิ่นในพื้นที่น�าร่องอ�าเภอเมือง จังหวัดระนอง ในพื้นที่ภาคใต้ ฯลฯ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละ
(รายละเอียดในบทที่ ๔) ภาคโดยเฉลี่ยประมาณ ๔๐๐ คน
160