Page 163 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 163
๒.๓) การสัมมนาระหว่างส�านักงาน กสม. กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน และ 1
ภาคประชาชน เป็นการส่งเสริมและประสานความร่วมมือ
ตามโครงการทูติยุติธรรม เพื่ออ�านวยความยุติธรรมแก่ 2
ประชาชนทางด้านกฎหมาย การช่วยเหลือทางด้านการเงิน
แก่ผู้เสียหายและจ�าเลยในคดีอาญา และให้ค�าปรึกษา 3
ทางด้านกฎหมายแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จัดเมื่อวันที่ ๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
4
๒.๔) กิจกรรมวันชนเผ่าพื้นเมือง ประจ�าปี ๒๕๖๒
• ปี ๒๕๖๐ จัดที่จังหวัดเพชรบุรี มีผู้เข้าร่วม จัดเมื่อวันที่ ๘ - ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๒ จังหวัดเชียงใหม่ 5
กิจกรรม ๓๐๐ คน ครั้งนี้นอกจากเป็นการ ภายใต้ชื่องาน “ภาษาแม่ ภาษาเรา ภาษาโลก” โดยร่วมจัด
รับทราบข้อมูลสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในพื้นที่ กับสภาชนเผ่าพื้นเมืองและองค์กรภาคีเครือข่าย
แล้ว ได้มีการก�าหนดทิศทางการท�างานร่วมกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้และความเข้าใจแก่
ระหว่างเครือข่ายในพื้นที่ด้วย เช่น การวางแผน กลุ่มชาติพันธุ์เกี่ยวกับสิทธิและการคุ้มครองวิถีชีวิต
ยุทธศาสตร์ร่วมกัน การพัฒนาโครงการอาสา ตามประเพณี มีพื้นที่ในการแสดงออกถึงอัตลักษณ์
สมัครเพื่อเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทางวัฒนธรรมของตน รวมทั้งการขับเคลื่อนการท�างาน
ในพื้นที่ การจัดตั้งศูนย์ศึกษาและประสานงานด้าน ด้านสิทธิมนุษยชนร่วมกับเครือข่ายด้านสิทธิของ
สิทธิมนุษยชนในสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ ฯลฯ กลุ่มชาติพันธุ์ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
มีกิจกรรมประกอบด้วยการแสดงอัตลักษณ์ในการ
๒.๒) การสัมมนาวิชาการระดับชาติ มนุษย์-สังคม แต่งตัวและประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์เผ่าต่าง ๆ การแสดง
ภาคประชาสังคม ครั้งที่ ๕ “ทิศทางความร่วมมือ ละครสั้น การแสดงนิทรรศการ การจัดเวทีวิชาการ
ในการสร้างงานวิชาการเพื่อรับใช้ชุมชน และเศรษฐกิจ เกี่ยวกับภาษาชนเผ่าพื้นเมืองที่เชื่อมโยงกับการเรียนรู้
อีสานกับความเป็นธรรมในสังคม” เมื่อวันที่ ๑๑ - ๑๓ ประวัติศาสตร์ชุมชน การจัดการที่ดินบรรพบุรุษและพื้นที่
กันยายน ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยจัดร่วมกับ ศักดิ์สิทธิ์ การสัมมนาวิชาการ เรื่อง “ชนเผ่าพื้นเมือง :
สมัชชาองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและ การยกระดับมติ ครม. แนวนโยบายฟื้นฟูวิถีชีวิตกะเหรี่ยง
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อ และชาวเลสู่การพัฒนากฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและ ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คนกับป่า-ประเทศไทย เครือข่ายทรัพยากรธรรมชาติและ อนุรักษ์วิถีชีวิตชาติพันธุ์”
สิ่งแวดล้อมภาคอีสาน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การ
มหาชน) และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์
เพื่อสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง กสม.
องค์กรและภาคีเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน
และการพัฒนา เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ
รวมทั้งบูรณาการงานวิชาการ งานพัฒนาและการส่งเสริม
ด้านสิทธิมนุษยชน ตลอดจนรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล
และทิศทางการพัฒนาของรัฐในพื้นที่ภาคอีสานจากอดีต
ปัจจุบัน สู่อนาคต และเกิดการเฝ้าระวังการละเมิด
สิทธิมนุษยชนในพื้นที่ ผลจากการสัมมนามีข้อเสนอให้มี
การจัดการประชุมหารือเครือข่ายนักวิชาการทางสังคม
เพื่อสร้างเครือข่ายและประสานการท�างานระหว่างสถาบัน
ทางวิชาการกับเครือข่ายสิทธิมนุษยชนในพื้นที่
161