Page 113 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 113

ในการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญาและ  กรณีที่ ๑ รายงานผลการพิจารณา ที่ ๑๔๒/๒๕๕๙

                     กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการยุติการตั้งครรภ์ เรื่อง การถูกคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษา     1
                     เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน          ความเป็นมา
                 ๒๓. ข้อเสนอแนะ ลงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๓           กสม. ได้พิจารณาค�าร้องที่ ๕๒๐/๒๕๕๗ กรณีนาย ย.    2
                   เรื่องหลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับ  ถูกด�าเนินคดีในความผิดฐานลักทรัพย์ในเวลากลางคืน
                     กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย และคู่มือการจัดการ และท�าให้เสียทรัพย์ เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖    3
                     เรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับการศึกษา  ซึ่งศาลจังหวัดเชียงราย  ได้มีค�าพิพากษา  เมื่อวันที่

                     ขั้นพื้นฐาน                               ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ สรุปได้ว่า จ�าเลยมีความผิด
                 ๒๔. ข้อเสนอแนะ ที่ ๔/๒๕๖๓                     ฐานพยายามลักทรัพย์ในเวลากลางคืน จ�าคุก ๘ เดือน      4
                   เรื่อง  ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง  ฐานท�าให้เสียทรัพย์ จ�าคุก ๖ เดือน รวมจ�าคุก ๑๔ เดือน
                     ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน   จ�าเลยให้การรับสารภาพลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจ�าคุก        5
                     รวมทั้งข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุง ๗ เดือน ต่อมาจ�าเลยอุทธรณ์ขอให้ศาลลงโทษจ�าเลย
                     กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่ง กรณีปัญหา สถานเบา ศาลอุทธรณ์ภาค ๕ ได้มีค�าพิพากษา เมื่อวันที่
                     ความรุนแรงทางเพศต่อเด็กนักเรียนโดยครูหรือ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗ แก้เป็นว่า ให้ลงโทษฐานพยายาม
                     บุคลากรทางการศึกษา                        ลักทรัพย์ในเวลากลางคืน ปรับ ๖,๐๐๐ บาท และ
                                                               ฐานท�าให้เสียทรัพย์ ปรับ ๔,๐๐๐ บาท อีกสถานหนึ่ง
                 ทั้งนี้ รายละเอียดการด�าเนินงานและผลการด�าเนินงาน  รวมปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท ลดโทษให้ตามประมวลกฎหมาย

              ตามข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริม อาญากึ่งหนึ่ง คงปรับ ๕,๐๐๐ บาท โทษจ�าคุกให้รอ
              และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมตลอดทั้งการแก้ไข การลงโทษไว้ ๒ ปี จ�าเลยต้องขังมาพอแก่โทษปรับแล้ว
              ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่งที่อยู่ในรายงาน จึงให้ปล่อยตัว  โดยศาลออกหมายปล่อยเมื่อวันที่
              ผลการพิจารณา  รายงานการตรวจสอบการละเมิด  ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗
              สิทธิมนุษยชนหรือข้อเสนอแนะ ในล�าดับที่ ๔ ล�าดับที่ ๗
              ล�าดับที่ ๙ - ๑๒ ล�าดับที่ ๑๕ - ๑๖ และล�าดับที่ ๑๙ - ๒๐   กสม. ได้พิจารณาแล้ว เห็นว่า เป็นกรณีที่ไม่มีการกระท�า

              อธิบายไว้ในบทที่ ๔                               หรือละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                                                               อย่างไรก็ตาม เห็นควรด�าเนินการประสานกรมคุ้มครอง
                 ส�าหรับกรณีรายงานผลการพิจารณา รายงานผล สิทธิและเสรีภาพให้วางระบบ และมาตรการการช่วยเหลือ
              การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือข้อเสนอ เยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากค�าพิพากษา กรณีถูกจ�าคุก  ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              แนะที่เสนอไปยังรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และหน่วยงาน  เกินกว่าโทษตามค�าพิพากษาถึงที่สุด หรือกรณีถูกจ�าคุก
              ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง  ตามค�าพิพากษาศาลชั้นต้น ต่อมาศาลอุทธรณ์หรือ
              ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดทั้ง  ศาลฎีกาพิพากษากลับให้ไม่ต้องจ�าคุกหรือจ�าคุกน้อยกว่า
              การแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่ง   กสม. จึงได้ส่งเรื่องให้กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
              ที่ส�าคัญและน่าสนใจบางกรณี อันอาจน�าไปสู่การสร้าง พิจารณาให้การเยียวยาแก่ผู้ต้องขังในคดีดังกล่าว
              ความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างที่ส�าคัญของภาครัฐและ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพแจ้งผลการด�าเนินการ

              ภาคเอกชน เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน   สรุปได้ว่า ตามนัยพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย
              หรืออาจก่อให้เกิดเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายของรัฐบาล  และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา
              ตลอดจนการตรากฎหมายเพื่ออนุวัติตามพันธกรณี พ.ศ. ๒๕๔๔ มุ่งให้ความคุ้มครองบุคคลที่ตกเป็นจ�าเลย
              ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย  ในคดีอาญาที่ถูกฟ้องโดยพนักงานอัยการ และถูกคุมขัง
              ต้องปฏิบัติตามและการปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้อง  ระหว่างพิจารณา หากปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าจ�าเลย
              กับหลักสิทธิมนุษยชน ดังนี้                       มิได้กระท�าความผิดและมีการถอนฟ้องระหว่างด�าเนินคดี
                                                               หรือปรากฏตามค�าพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีนั้นว่า






                                                                                                                 111
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118