Page 109 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 109
ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่นายจ้างและแรงงาน ข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ จ�าแนกตามสถานการณ์
ต่างด้าวเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชก�าหนดการบริหาร สิทธิมนุษยชนแต่ละด้าน ดังนี้ 1
จัดการท�างานของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม ฯลฯ สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 2
มีข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย มีข้อเสนอแนะ เช่น การปรับปรุงระเบียบหรือแนวปฏิบัติที่เป็นอุปสรรคในการ 3
ด้านสิทธิชุมชน รัฐควรพิจารณาทบทวนมาตรการตรวจสอบ ขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม การคุ้มครอง
การประกอบกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมหรือกิจการอื่น นักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ด�าเนินกิจกรรมด้วยสันติวิธี
ที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง เพื่อป้องกัน จากการถูกข่มขู่คุกคามหรือท�าร้าย การเร่งโอนคดีที่ยัง 4
ปัญหาการทิ้งกากของเสียหรือสารพิษสู่สิ่งแวดล้อม เหลืออยู่ในศาลทหารไปยังศาลยุติธรรมให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว
ด้านสถานการณ์จังหวัดชายแดนใต้ รัฐควรก�ากับดูแล การเร่งพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม 5
การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวกับการจับกุม การทรมานฯ โดยค�านึงถึงความสอดคล้องกับอนุสัญญา
และควบคุมตัวไห้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อป้องกัน CAT เป็นต้น
การทรมาน ด้านค้ามนุษย์ หน่วยงานของรัฐควรด�าเนินการ
ปราบปรามการค้ามนุษย์อย่างต่อเนื่อง และน�าตัวผู้กระท�าผิด สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
รวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระท�าผิด มีข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
มาลงโทษ ฯลฯ การดูแลแรงงานที่ถูกเลิกจ้างให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตาม
กฎหมาย การพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับสภาวะ
๓.๒.๔ รายงานผลการประเมินสถานการณ์ เศรษฐกิจในอนาคต การแก้ไขปัญหาพนักงานจ้างเหมา
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ บริการในหน่วยงานของรัฐ การสนับสนุนการด�าเนินงาน
ในปีนี้ได้แบ่งการประเมินสถานการณ์ออกเป็น ๔ ด้าน ของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาในการช่วย
ตามขอบเขตสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน เหลือเด็กที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้ได้รับการศึกษา
และประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญในบริบทประเทศไทย โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอันเป็นการ
ประกอบด้วย (๑) สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและ ศึกษาขั้นพื้นฐาน และเรื่องธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
สิทธิทางการเมือง มีประเด็นส�าคัญคือ การเข้าถึงความยุติธรรม มีข้อเสนอแนะให้รัฐควรให้ความส�าคัญกับกระบวนการ
ของประชาชน ปัญหาการกระท�าทรมานและการบังคับ แปลงแผนปฏิบัติการระดับชาติฯ ไปสู่การปฏิบัติ การให้
บุคคลให้สูญหาย และการใช้เสรีภาพในการแสดงความ รัฐวิสาหกิจเป็นแบบอย่างในการน�าหลักการชี้แนะ UNGP ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คิดเห็นและการชุมนุมโดยสงบ (๒) สถานการณ์ด้าน ไปปรับใช้ในการประกอบธุรกิจ ฯลฯ
สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มีประเด็นหลักคือ
สิทธิในการมีงานท�าและความคุ้มครองทางสังคม สิทธิด้าน สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล มีข้อเสนอแนะ
การศึกษา สิทธิด้านสุขภาพ และประเด็นสิทธิมนุษยชน เช่น การมีมาตรการสนับสนุนให้ครอบครัวท�าหน้าที่ดูแลเด็ก
ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ (๓) ด้านสิทธิมนุษยชนของ เพื่อให้เด็กได้รับความปลอดภัยในชีวิตและมีพัฒนาการที่
กลุ่มเฉพาะ ได้แก่ เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ สตรี รวมถึง เหมาะสมตามวัย การมีมาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรง
ความเท่าเทียมระหว่างเพศ ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ต่อเด็กในครอบครัว การสร้างหลักประกันว่าแรงงาน
รวมถึงแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ คนไร้รัฐ ผู้แสวงหาที่พักพิง นอกระบบจะมีรายได้เพียงพอส�าหรับการด�ารงชีพ
และ (๔) ด้านสิทธิมนุษยชนในประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย ตามมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสม การพัฒนา
ได้แก่ สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ บุคลากรทางการแพทย์ให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคและภาวะ
สิ่งแวดล้อม สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ การเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ การมีมาตรการแก้ปัญหาความ
การค้ามนุษย์ รุนแรงในครอบครัวต่อสตรี ฯลฯ
107