Page 110 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 110

สถานการณ์ของประเด็นสิทธิมนุษยชนที่อยู่ใน        สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในสถานการณ์เฉพาะ
            ความห่วงใย มีข้อเสนอแนะ เช่น สิทธิชุมชน รัฐบาลควร มีข้อเสนอแนะ เช่น สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
            ก�าหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน  ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) รัฐบาลควรค�านึงถึง
            ในการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในระดับพื้นที่ ข้อจ�ากัดในการเข้าถึงความช่วยเหลือของประชาชน
            ในการจัดการที่ดิน ที่อยู่อาศัยและใช้ประโยชน์จาก บางกลุ่มและก�าหนดช่องทางที่เหมาะสมเพื่อให้ประชากร
            ทรัพยากรธรรมชาติ สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนใต้  กลุ่มดังกล่าวได้เข้าถึงและใช้สิทธิในทางปฏิบัติได้จริง
            หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องควรจัดการอบรมให้ความรู้ สถานการณ์ชุมนุมเรียกร้องทางการเมือง เห็นว่าในภาพรวม

            แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้บังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติ  รัฐยังคงท�าหน้าที่ดูแลการใช้เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ
            หน้าที่ที่เคารพหลักสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่อง ด้านค้ามนุษย์   ของประชาชนโดยไม่ได้แทรกแซงการใช้เสรีภาพดังกล่าว
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ควรมีการติดตามผลการด�าเนินการปราบปรามการบังคับใช้  แม้ในกรณีผู้จัดการชุมนุมไม่ได้แจ้งการชุมนุม ฯลฯ
            แรงงานทั้งในภาคประมงและอุตสาหกรรมอื่นโดยเฉพาะ
            อย่างยิ่งการคัดแยกผู้เสียหายจากการบังคับใช้แรงงาน   สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            ซึ่งมีความแตกต่างจากการคัดแยกผู้เสียหายจากการ  มีข้อเสนอแนะ เช่น ปัญหาความแออัดของเรือนจ�า
            ค้ามนุษย์ ฯลฯ                                    นอกจากจัดสรรงบประมาณเพื่อขยายพื้นที่เรือนจ�าแล้ว
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
                                                             ควรน�าวิธีการอื่นมาใช้ร่วมด้วย การป้องกันและแก้ปัญหา
            ๓.๒.๕ รายงานผลการประเมินสถานการณ์ การกระท�าทรมาน รัฐควรมีการสอบสวนการเสียชีวิต

            ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๓  ของบุคคลระหว่างถูกควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือ
                ได้แบ่งการประเมินสถานการณ์ออกเป็น ๔ ด้าน  ระหว่างการฝึก สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้
            ตามขอบเขตสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความส�าคัญกับการสร้าง
            และประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญในบริบท ความไว้วางใจให้กับประชาชน โดยการท�าความเข้าใจกรณี
            ประเทศไทย ประกอบด้วย (๑) สถานการณ์สิทธิมนุษยชน  เกิดเหตุการณ์ที่อาจกระทบต่อสิทธิของประชาชนในพื้นที่
            ในสถานการณ์เฉพาะ ได้แก่ สถานการณ์แพร่ระบาด เพื่อให้การแก้ไขสถานการณ์ความไม่สงบได้รับความร่วมมือ
            ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และ จากประชาชนยิ่งขึ้น ฯลฯ

            สถานการณ์การชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองของนักเรียน
            นักศึกษา ประชาชน (๒) สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมือง      สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
            และสิทธิทางการเมือง ได้แก่ การเข้าถึงความยุติธรรม มีข้อเสนอแนะ เช่น สิทธิแรงงาน รัฐควรส่งเสริมให้ความรู้
            ของประชาชน สถานการณ์การกระท�าทรมาน การบังคับ  แก่กลุ่มแรงงานถึงสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายแรงงาน
            ให้สูญหาย  การคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน  และช่องทางการร้องเรียน สิทธิชุมชน ควรปรับปรุงหรือ
            สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนใต้ โทษประหารชีวิต   แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่มีอยู่ให้รับรองสิทธิชุมชนเพื่อ
            การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น (๓) สถานการณ์ ให้ชุมชนรวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์สามารถมีส่วนร่วมในการ
            สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ได้แก่ สิทธิแรงงาน  จัดการทรัพยากรธรรมชาติกับรัฐได้ สิทธิด้านสุขภาพ
            สิทธิชุมชนกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ   รัฐควรเร่งด�าเนินการเชิงรุกเพื่อส�ารวจและวางแผนเพื่อ

            สิทธิด้านสุขภาพ สิทธิด้านการศึกษา ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน   ช่วยเหลือคนที่ส่งสัญญาณการฆ่าตัวตาย  สิทธิด้าน
            (๔) สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล ได้แก่ เด็ก  การศึกษา รัฐควรพิจารณาจัดท�าแผนหรือมาตรการแก้ไข
            ผู้สูงอายุ คนพิการ สตรีรวมถึงประเด็นความเสมอภาค  ปัญหาประชากรวัยเรียนที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา
            ทางเพศ ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ                   ได้เข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึงมากขึ้น ฯลฯ


                ข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ  จ�าแนกตามสถานการณ์         สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล มีข้อเสนอแนะ
            สิทธิมนุษยชนแต่ละด้าน ดังนี้                     เช่น สิทธิของเด็ก รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเร่ง

                                                             พิจารณาร่างแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๘๐
                                                             โดยให้ความส�าคัญกับเด็กกลุ่มที่มีอุปสรรคในการเข้าถึง



       108
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115