Page 108 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 108
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล ข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ จ�าแนกตามสถานการณ์
มีข้อเสนอแนะ เช่น รัฐควรให้ความส�าคัญกับการด�าเนินการ สิทธิมนุษยชนแต่ละด้าน ดังนี้
เพื่อขจัดแนวความคิดแบบเก่าเกี่ยวกับบทบาทของบุรุษและ
สตรีในทุกระดับและทุกรูปแบบของการศึกษา โดยอาจ สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
บรรจุหลักสูตรที่เกี่ยวกับความเท่าเทียมกันระหว่างเพศ มีข้อเสนอแนะ เช่น ด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ในทุกระดับการศึกษา รัฐควรมีกลไกการคุ้มครองสิทธิ รัฐควรประชาสัมพันธ์แจ้งสิทธิของประชาชนในการขอรับ
ผู้สูงอายุให้ได้รับความคุ้มครองสิทธิอย่างเหมาะสม ความช่วยเหลือในการขอปล่อยตัวชั่วคราว ด้านกระท�า
โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่ยังมีสติสัมปชัญญะ มีความ ทรมานฯ รัฐควรพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและ
สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง เช่น มีระบบพิทักษ์สิทธิ ปราบปรามการทรมานฯ ให้สอดคล้องกับสาระส�าคัญของ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
(Guardianship) ฯลฯ อนุสัญญา CAT ด้านเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและ
ชุมนุมโดยสงบ รัฐควรทบทวนการใช้อ�านาจทางกฎหมาย
การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนใน ๕ ประเด็น ให้เป็นไปตามกระบวนการตรากฎหมายปกติแทนการใช้
ปัญหาหรือพื้นที่ส�าคัญ มีข้อเสนอแนะ เช่น ด้านค้ามนุษย์ อ�านาจตามมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
หน่วยงานของรัฐควรด�าเนินการตามแผนสิทธิมนุษยชน (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๘ ฯลฯ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
แห่งชาติอย่างจริงจัง มีการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่
ทุกระดับอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์จังหวัดชายแดนใต้ สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
พบว่ามีข้อห่วงกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อสิทธิในชีวิต มีข้อเสนอแนะ เช่น ด้านการศึกษา รัฐควรเร่งปฏิรูป
และร่างกายของเด็กและสตรี การมีส่วนร่วมของสตรี ประเทศด้านการศึกษาเพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถ
ในกระบวนการสันติภาพ รวมถึงภาวะทุพโภชนาการ เข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างทั่วถึงโดยเฉพาะ
ของเด็กในพื้นที่ ฯลฯ เด็กด้อยโอกาสกลุ่มต่าง ๆ ด้านสาธารณสุข รัฐควรเร่ง
ด�าเนินการบริหารจัดการปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
๓.๒.๓ รายงานผลการประเมินสถานการณ์ โดยก�าหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจน รวมถึงทบทวน
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑ กฎหมายโดยค�านึงถึงผลกระทบในมิติสิทธิด้านสุขภาพ
ปีนี้มีการจัดท�ากรอบการประเมิน การกลั่นกรอง ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รัฐควรจัดตั้งหรือก�าหนดกลไก
ข้อเท็จจริงและประมวลข้อเสนอแนะในแต่ละประเด็น ที่มีหน้าที่และอ�านาจในการน�ามาตรการเชิงบังคับและ
อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน มาตรการเชิงสมัครใจมาใช้ในการก�ากับดูแลการด�าเนินการ
จ�าแนกเป็น ๑๔ ประเด็น ดังนี้ (๑) สถานการณ์ด้าน ประกอบธุรกิจเพื่อป้องกันผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง มี ๓ ประเด็น คือ เป็นต้น
การทรมานและการบังคับให้สูญหาย สิทธิในกระบวนการ
ยุติธรรม เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ (๒) สถานการณ์ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล มีข้อเสนอ
สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มี ๓ ประเด็น คือ แนะ เช่น ด้านสิทธิเด็ก รัฐควรมีมาตรการคุ้มครองเด็กจาก
สิทธิด้านการศึกษา ด้านสุขภาพ ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน) ภัยออนไลน์รูปแบบต่าง ๆ และให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและ
(๓) สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล มี ๕ ประเด็น ครูเพื่อให้สามารถให้ค�าแนะน�าและช่วยเหลือเด็กในการ
คือ เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้มีปัญหาสถานะ นักปกป้อง ใช้สื่อออนไลน์และวิธีรับมือกับภัยที่มากับสื่อ ด้านสิทธิ
สิทธิมนุษยชน (๔) ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย มี ๓ ประเด็น ผู้สูงอายุ รัฐควรพิจารณาระบบการออมภาคบังคับเพื่อให้
คือ สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ประชาชนทุกคนมีบ�าเหน็จบ�านาญหลังพ้นวัยเกษียณ
สิ่งแวดล้อม สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ด้านสิทธิคนพิการ รัฐควรจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ
การค้ามนุษย์ รวมทั้งได้มีการสรุปข้อเสนอแนะของ กสม. แก่การศึกษาส�าหรับนักเรียนพิการในโรงเรียน จัดการเรียน
ต่อสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนทั้ง ๑๔ ประเด็น เพื่อให้ ร่วมให้สอดคล้องกับความต้องการจ�าเป็นของนักเรียน
สามารถอ่านได้ง่ายขึ้น พิการแต่ละบุคคล สิทธิของผู้มีปัญหาสถานะ รัฐควรให้
106