Page 16 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 16
๑๔
๒.๗ ควรระบุหลักประกันการเคารพสิทธิมนุษยชน
ในกระบวนการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ โดยระบุให หนวยงาน
ของรัฐและรัฐวิสาหกิจศึกษาแนวทางในการมีมาตรการ
ที่มีประสิทธิภาพในกระบวนการจัดซื้อจัดจางและ
การบริหารพัสดุ ตามที่ กสม. ไดมีขอเสนอแนะในรายงาน
ผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือขอเสนอ
ในการปรับปรุงกฎหมาย เรื่อง รางพระราชบัญญัติ
การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐดวยตามรายงาน
ผลการพิจารณาที่ ๒๐๖/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๙
เรื่อง รางพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการบริหาร
พัสดุภาครัฐ พ.ศ. .... ประกอบดวย
๒.๘ ควรระบุถึงแผนการบูรณาการ และประกัน
ความสอดประสานดานนโยบายในประเด็นที่เกี่ยวของ
กับธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนภายในหนวยงานของรัฐ
รวมไปถึงการระบุแนวนโยบายและเชื่อมโยงกับแผน
ยุทธศาสตรฉบับตาง ๆ อาทิ แผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
แผนการขับเคลื่อนวาระแหงชาติ : สิทธิมนุษยชนรวม
ขับเคลื่อน Thailand 4.0 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(National agenda : Integrated human rights
for mobilizing “Thailand 4.0” policy towards
sustainable development) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ แผนยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป
โดยตองสอดคลองกับพันธกรณีระหวางประเทศดาน
สิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี รวมถึงการกํากับ
ดูแลภาคธุรกิจใหเคารพสิทธิมนุษยชนตามขอบเขต
อํานาจหนาที่ของหนวยงานของรัฐ
๒.๙ ควรระบุหลักการสําคัญที่จะประกันวาการ
ลงนามในสนธิสัญญาดานการคาระหวางประเทศ
ของไทยจะไมสงผลกระทบดานลบตอสิทธิมนุษยชน
โดยอาจระบุใหรัฐบาลตองพิจารณาการประเมินผลกระทบ
ดานสิทธิมนุษยชนที่อาจเกิดขึ้นจากขอตกลงดังกลาว
รวมถึงควรพิจารณาขอบทเพื่อความมั่นคงแหงสัญญา
(Stabilization clause) ในขอตกลงการลงทุนจะไม
สงผลกระทบตอการดําเนินนโยบายของรัฐในการสงเสริม
คุมครอง และปรับปรุงการดําเนินการ ใหสอดคลองกับ
หลักการธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน โดยอาจพิจารณาแนวทาง
การเจรจาบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนดวย