Page 38 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 38
38 สำ�นักงานคณะกรรมการสำิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
แม้กฎหมายหลายฉบับที่แก้ไขใหม่
จะมีความก้าวหน้าในแง่ของการเปิด
พื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมการจัดการ สิทธิของประชาชนหรือชุมชน
ทรัพยากรมากขึ้น แต่จากสถานการณ์ ยังไม่ได้รับการคุ้มครอง
อย่างแท้จำริง เพราะรัฐยังคง
สิทธิชุมชนที่น�าเสนอข้างต้น แสดงให้เห็นว่า มีบทบาทหลักในการก�หนด
สิทธิของประชาชนหรือชุมชนยังไม่ได้รับ กติกา นโยบายและโครงการ
การคุ้มครองอย่างแท้จริง เพราะรัฐยังคง ต่าง ๆ ในลักษณะระบบการ
จำัดการโดยรัฐ มิใช่ระบบ
มีบทบาทหลักในการก�าหนดกติกา นโยบาย จำัดการร่วมที่มีชุมชนเป็นฐาน
และโครงการต่าง ๆ ในลักษณะระบบ
การจัดการโดยรัฐ มิใช่ระบบจัดการร่วม
ที่มีชุมชนเป็นฐาน แม้จะเปิดโอกาส
ให้ประชาชน/ชุมชนมีส่วนร่วม แต่ก็เป็น
การมีส่วนร่วมภายใต้สิ่งที่รัฐก�าหนดไว้แล้ว
ซึ่งมักน�าไปสู่ความขัดแย้งในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติดังปรากฏให้เห็น เป็นต้น
ดังนั้น จึงขอน�าเสนอแนวปฏิบัติการจัดการร่วมประเด็นสิทธิชุมชนกับการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้มีการน�าหลักการสิทธิชุมชน
กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปใช้ประโยชน์อย่างสอดคล้องกับหลักการ
และอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งในการก�าหนดกฎหมาย นโยบาย หรือแนวปฏิบัติต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเป็นในระดับชาติและระดับพื้นที่ ซึ่งอาจจะช่วยลดความขัดแย้งในการจัดการทรัพยากร
ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่ได้ไม่มากก็น้อย
แม้แนวทางที่จะน�าเสนอต่อไปนี้ เป็นแนวทางส�าหรับการบัญญัติกฎหมาย
ระดับพระราชบัญญัติเป็นส�าคัญ แต่หลักการและแนวทางบางประการอาจเป็นประโยชน์
ส�าหรับหน่วยงานระดับพื้นที่ โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรชุมชน
ในการน�าไปใช้เป็นแนวทางในการก�าหนดกฎกติกาในการจัดการทรัพยากรระดับท้องถิ่นได้
โดยแนวทางที่จะน�าเสนอต่อไปนี้เป็นแนวทางที่เชื่อมโยงระหว่างบทบัญญัติ
เรื่องสิทธิของบุคคลและชุมชนตามมาตรา ๔๓ (๒) และบทบัญญัติเรื่องหน้าที่ของรัฐ
ตามมาตรา ๕๗ (๒) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลัก