Page 43 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 43

บทที่ 2
                                                                    แนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


               จึงมีข้อพิจารณาต่อมาว่า เป็นการก าหนดให้เป็นภาระที่ประชาชนต้องติดตามและเร่งรัดให้รัฐจัดให้ตนได้รับ

               ประโยชน์ โดยประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการเสนอหลักเกณฑ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือไม่

                              เป้าหมายในการปฏิรูปประเทศ


                            มาตรา 257 “การปฏิรูปประเทศตามหมวดนี้ ต้องด าเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้

                            ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน

                            (1)  ให้มีการน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการ

                                จัดท าบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน และเพื่ออ านวยความ
                                สะดวกให้แก่ประชาชน

                            (2)  ให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็น

                                ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินและการบริการประชาชน

                            ด้านอื่นๆ

                            (1)  ให้มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ าที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และยั่งยืน โดยค านึงถึง

                                ความต้องการใช้น้ าในทุกมิติ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและสภาพ

                                ภูมิอากาศประกอบกัน
                            (2)  จัดให้มีการกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม รวมทั้งการตรวจสอบกรรมสิทธิ์และ

                                การถือครองที่ดินทั้งประเทศเพื่อแก้ไขปัญหากรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองที่ดินอย่างเป็น

                                ระบบ

                            เป็นการก าหนดนโยบายในการปฏิรูปประเทศ ซึ่งได้วางหลักการที่ส าคัญในเรื่องการบริหาร
               จัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะป่าไม้และที่ดิน ในเรื่องของการใช้เทคโนโลยี การบูรณาการฐานข้อมูล

               การบริหารจัดการทรัพยากรโดยค านึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การกระจายการถือครองที่ดิน การ

               ถือครองที่ดิน โดยเน้นถึงความเป็นธรรมและความยั่งยืน

                       รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา จนถึงปี พ.ศ. 2560 มีพัฒนาการ
               ไปในทิศทางที่ขยายดินแดนสิทธิและเสรีภาพ การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของ

               ประชาชนและชุมชนมากขึ้น ตลอดจนมีการรับรองสิทธิชุมชนและความพยายามในการเพิ่มประสิทธิภาพการ

               บังคับให้เป็นไปตามสิทธิดังกล่าว รวมถึงการวางแนวนโยบายและการปฏิรูปประเทศในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
               อย่างไรก็ตาม ยังคงมีข้อถกเถียงเกี่ยวกับสภาพบังคับและการด าเนินการของประชาชนเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิตาม

               รัฐธรรมนูญในฐานะที่เป็นหน้าที่ของรัฐ

                       กล่าวโดยสรุป สิทธิในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีการกล่าวถึงทั้งในบริบทกฎหมาย

               ระหว่างประเทศและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แม้ว่าจะเป็นสิทธิของปัจเจกที่จะมีส่วนร่วมในชุมชน

               หรือกระท าการร่วมกันในฐานะชุมชน (Collective rights) มิได้เป็นสิทธิของชุมชนแยกต่างหากจากสิทธิของ



               สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย                                                      2-25
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48