Page 183 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 183

โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
               คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน



                 เป้าหมายที่ 10  ลดความไม่เสมอภาคภายในและ  เป้าหมายที่ 10.2  ให้อ านาจและส่งเสริมความครอบคลุมด้านสังคม
                            ระหว่างประเทศ                           เศรษฐกิจและการเมืองส าหรับทุกคน โดยไม่ค านึงถึงอายุ
                                                                    เพศ ความบกพร่องทางร่างกาย เชื้อชาติ ชาติพันธุ์
                                                                    แหล่งก าเนิด ศาสนา หรือสถานะทางเศรษฐกิจหรืออื่นๆ
                 เป้าหมายที่ 12  สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการ  เป้าหมายที่ 12.8  สร้างหลักประกันว่าประชาชนในทุกแห่งมีข้อมูล
                            บริโภคและผลิตที่ยั่งยืน                 ที่เกี่ยวข้องและความตระหนักถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนและ
                                                                    วิถีชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ
                 เป้าหมายที่ 15  ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้  เป้าหมายที่ 15.9  บูรณาการมูลค่าของระบบนิเวศและความหลากหลาย
                            ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการ        ทางชีวภาพเข้าไปสู่การวางแผน กระบวนการพัฒนา
                            ป่าไม้อย่างยั่งยืน ต่อสู้การกลาย        ยุทธศาสตร์การลดความยากจน และบัญชีทั้งระดับ
                            สภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อม          ท้องถิ่นและระดับประเทศ
                            โทรมของที่ดินและฟื้นสภาพกลับมา
                            ใหม่ และหยุดการสูญเสียความ
                            หลากหลายทางชีวภาพ

                       การกระจายอ านาจจะเป็นการรับรองและคุ้มครองสิทธิของประชาชนและชุมชนที่จะร่วมกับองค์กร

               ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือรัฐ ในการด าเนินการจัดการ บ ารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ

               สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน และการจัดท าฐานข้อมูลกลางยังเป็นการ
               ตอบสนองต่อเป้าหมายในการปฏิรูปประเทศ มาตรา 257 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

               2560 ที่ก าหนดให้มีการน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดท า
               บริการสาธารณะ รวมถึงการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็น

               ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินและการบริการประชาชน ทั้งยังเป็นสิทธิของประชาชนที่จะได้รับ
               ข้อมูล ค าชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการด าเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ

               คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต และหน้าที่ของรัฐในการเปิดเผยข้อมูล และจัดท าข้อมูลให้

               ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก ตามมาตรา 58 และ 59 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
               ตามล าดับ


                       การกระจายอ านาจในความหมายกว้าง หมายถึงการจัดสรรหรือแบ่งปันอ านาจการตัดสินใจ
                                                                                 8
               ที่เกี่ยวข้องกับกิจการสาธารณะ จากรัฐส่วนกลางไปยังหน่วยงานหรือองค์กรอื่น  การกระจายอ านาจจึงเป็นไป
               ได้ในหลายระดับ ในเรื่องของการจัดการทรัพยากรและการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ควรมีการกระจายอ านาจ
               ภายใต้หลักการโอนอ านาจ (devolution) ซึ่งเป็นหลักการกระจายอ านาจที่สูงสุดที่เป็นไปได้ภายใต้รัฐเดี่ยว

               จะท าให้การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสอดคล้องกับพื้นที่และมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการ

               บังคับใช้กฎหมายจากส่วนกลาง เช่น ในแผนแมบทการพิทักษทรัพยากรปาไมของชาติ ได้มีการกล่าวถึงการ







               8    นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. (2546). ทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ.



               6-12                                                             สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188