Page 128 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 128

บทที่ 3
                                                                                        สถานการณ์ในประเทศไทย


                       3.2.3.2  สภาพปัญหาในปัจจุบัน

                       จากการศึกษาสภาพปัญหาอันเกิดจากการประกาศเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกท าให้เกิดผลกระทบ

               ดังต่อไปนี้

                       (1) การประกาศเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกน ามาสู่การยกเว้นการบังคับใช้กฎหมายที่ก าหนด

                          กรอบการใช้ประโยชน์ที่ดินและป้องกันผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                       (2) การเน้นพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพื้นที่เขตโดยไม่เป็นธรรม


                       3.2.4  พื้นที่เขตทหำร

                       3.2.4.1  ภาพรวมของสถานการณ์

                       ในปัจจุบันที่ดินที่ถูกมาใช้เป็นที่ดินเพื่อการทหารมีอยู่ทั้งสิ้นประมาณ 4,832,408 ไร่ แบ่งเป็นที่ดิน

               ที่อยู่ในความครอบครอง ดูแล และใช้ประโยชน์ของกองทัพบกจ านวน 4,337,100 ไร่ กองทัพเรือจ านวน

                                        23
               260,161 ไร่ และ 235,147 ไร่  ซึ่งนอกเหนือจากการใช้เป็นพื้นที่ตั้งหน่วยทหารและสาธารณูปโภค และพื้นที่
               ส าหรับการฝึกทางการทหารแล้ว ที่ดินเหล่านี้ยังถูกน ามาใช้เพื่อประโยชน์อื่น เช่น พื้นที่ท่องเที่ยว พื้นที่

               สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ และพื้นที่ที่ส่วนราชการอื่นมาขอใช้ประโยชน์ เป็นต้น ซึ่งสาเหตุ
               ที่กองทัพได้ที่ดินจ านวนมากเช่นนี้มาอยู่ในความครอบครองเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่แต่เดิมมีการก าหนด

               พื้นที่เขตสงวนเพื่อใช้ประโยชน์ในราชการทหารตามพระบรมราชโองการและตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ

               หวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 ซึ่งในปัจจุบันได้มีการก าหนดเขต
               หวงห้ามโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวทั้งสิ้น 12 ฉบับ ซึ่งผลของ

               การก าหนดเขตหวงห้ามตามพระบรมราชโองการและพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวท าให้เกิดข้อจ ากัดสิทธิในการ
               ใช้ประโยชน์ในที่ดินขึ้น และท าให้เกิดการจ าแนกที่ดินภายใต้เขตหวงห้ามออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ที่ดิน

               ที่เป็นเขตสงวนหวงห้าม และที่ดินที่เป็นที่ราชพัสดุ

                       (1)  ที่ดินที่เป็นเขตสงวนหวงห้ำม


                       ที่ดินที่เป็นเขตสงวนหวงห้าม หมายถึง ที่ดินรกร้างว่างเปล่าซึ่งอยู่ภายใต้เขตหวงห้ามตามแผนที่
               ท้ายพระราชกฤษฎีกาหรือตามพระบรมราชโองการ ซึ่งผลของการถูกประกาศเป็นเขตหวงห้ามตามพระราช

               กฤษฎีกาหรือตามพระบรมราชโองการนั้นจะมีผลท าให้ที่ดินดังกล่าว ห้ามมิให้ผู้ใดเข้าหักร้างจัดท า หรือปลูก

               สร้างด้วยประการใดๆ ในที่ดินนั้น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากเจ้าหน้าที่เสียก่อน ที่ดินประเภทนี้
                                                                                                        24
               เป็นที่ดินของรัฐเช่นกัน แต่ไม่ใช่ที่ราชพัสดุตามความหมายของพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518
               จึงคล้ายกับที่ดินที่เป็นป่าสงวนที่อธิบดีกรมป่าไม้มีอ านาจอนุญาตให้บุคคลเข้าไปใช้ประโยชน์ในเขตป่าสงวนได้



               23   สรุปจากฐานข้อมูลการใช้ประโยชน์ในที่ดินของกรมธนารักษ์
               24   ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้เคยวินิจฉัยว่า ที่ดินรกร้างว่างเปล่าที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของส่วน
                   ราชการและส่วนราชการได้เข้าไปใช้ประโยชน์แล้วเท่านั้น จึงจะถือว่าเป็นที่ราชพัสดุ ที่ดินรกร้างว่างเปล่าที่ได้หวงห้ามไว้เพื่อ



               สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย                                                      3-17
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133