Page 87 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับประถมศึกษาตอนต้น
P. 87

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับประถมศึกษาตอนตน



                     7.  นักเรียนแตละกลุมเลาถึงวิธีการปฏิบัติตอบุคคลอื่นที่แตกตางโดยปราศจากอคติ โดยครูให
              ขอเสนอแนะเพิ่มเติม

                     8.  นักเรียนและครูรวมกันสรุปถึงการยอมรับความคิด ความเชื่อที่แตกตางของบุคคลอื่นก็ชวยใหเรา
              อยูรวมกันอยางมีความสุขได

              สื่อ/แหลงการเรียนรู
                     1.  แจกันดอกไมหลายสี หลายแบบ
                     2.  กระดาษสีชมพู และสีเขียว

              การวัดประเมินผล

                     1.  การมีสวนรวมในกิจกรรม
                     2.  การใชเหตุผลในการตอบคําถาม
                     3.  การแสดงความคิดเห็น

              ขอเสนอแนะ
                     การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหนักเรียนไดเขียนสิ่งที่เปนความรูสึกเปนกิจกรรมที่ดีควร

              ฝกใหทําเปนประจําเพราะนอกจากจะเปนการฝกการเขียนแลว ยังชวยใหนักเรียนไดบอกความรูสึกที่แทจริง
              แทนการดู ซึ่งบางครั้งนักเรียนอาจไมกลาที่จะแสดงออกทางวาจา

              อภิธานศัพท
                     การยอมรับความคิด ความเชื่อที่แตกตาง หมายถึง การยอมรับในความแตกตางเปนเรื่องสําคัญ
              การที่เรามีความคิดความเชื่อบางอยางไมไดหมายความวาทุกคนจะเชื่อเหมือนเรา การพูดคุยแลกเปลี่ยน

              เปนไปเพื่อความเขาใจ ไมใชการเอาชนะ หรือใชความมีอํานาจเหนือกวาบีบคั้นอีกฝาย หรือทําใหเขา
              แปลกประหลาด เด็กที่โตมาในครอบครัวที่แสดงความเห็นได พูดคุย และใหโอกาสเลือกการตัดสินใจ
              จะสามารถใชทักษะนี้ในการอยูรวมกับคนอื่นในสังคม









              86
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92