Page 41 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 41

กรอบการท�า HRDD      7








                                 ขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการ HRDD มีดังต่อไปนี้
 ก่อนที่จะลงมือด�าเนินกระบวนการ HRDD
 ลองมาท�าความเข้าใจกับประเด็นส�าคัญ ๆ ที่เกี่ยวกับแนวคิดนี้กันก่อน
                   7.1            การประเมินความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและมีแนวโน้มว่าจะเกิด




                  บริษัทต้องระบุและประเมินผลกระทบเชิงลบด้านสิทธิมนุษยชนที่องค์กรมีส่วนเกี่ยวข้อง เรื่องนี้ครอบคลุม
   HRDD สำาคัญเพราะอะไร? กระบวนการ HRDD ช่วยให้บริษัทเข้าใจว่าความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน
 ของบริษัทนั้นเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร เมื่อเวลาผ่าน และบริษัทควรรับมืออย่างไร กระบวนการ
 HRDD ครอบคลุมกระบวนการประเมินปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสี่ยง  •  ผลประทบที่เกิดขึ้นจริง (ปัจจุบันหรืออดีต) และผลกระทบที่คาดว่าจะเกิด (มีแนวโน้มในอนาคต)
 ด้านสิทธิมนุษยชน และบ่งชี้ทรัพยากรภายในและภายนอกที่อาจช่วยให้รับมือกับความเสี่ยงเหล่านี้ได้  •  ผลกระทบจากกิจกรรมทางธุรกิจโดยตรงของบริษัท และที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางธุรกิจ
                        เช่น ในห่วงโซ่อุปทาน ห่างจากองค์กรไปอีกหนึ่งขั้นหรือมากกว่า บริษัทจะต้องมองความเสี่ยง

                        ด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดกับ “คน” ว่า แตกต่างจากความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดกับ “บริษัท”
                        แม้ว่าสองประเด็นนี้จะเข้ามาเกี่ยวพันกันมากขึ้นเรื่อยๆ



   บริษัทควรใช้ HRDD เมื่อใด? กระบวนการ HRDD ควรทำาตั้งแต่เนิ่นๆ เช่น ก่อนลงนามในสัญญา  เรื่องนี้ส�าคัญอย่างไร?
 ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการใหม่ และดำาเนินเรื่อยไปหลังจากที่เริ่มปฏิบัติการแล้ว รวมถึงควรดำาเนิน
 กระบวนการอีกครั้งหลังจากที่ปิดโครงการหรือปลดระวาง (เช่น ในกระบวนการปิดเหมือง ปิดโรงงาน
 ฯลฯ) ไปแล้ว HRDD เป็นเรื่องของกระบวนการที่ต้องทำาอย่างต่อเนื่อง มิใช่ทำา “ครั้งเดียวจบ” อย่าง  •  การประเมินความเสี่ยง คือกระบวนการที่บริษัทลงมือรวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่จำาเป็น

 เช่นการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม หรือการจัดทำารายงานประจำาปี  ต่อการทำาความเข้าใจว่า ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทมีอะไรบ้าง ก่อนที่จะลงมือกำาจัด

                       หรือบรรเทาได้
                    •  เป็นจุดเริ่มต้นของการทำาความเข้าใจว่า จะแปลงนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท
                       มาเป็นภาคปฏิบัติได้อย่างไร

   HRDD สัมพันธ์กับระบบตรวจสอบรอบด้าน (Due Diligence Systems) อื่นๆ ของบริษัทอย่างไร?   •  การให้ฝ่ายต่างๆ ในองค์กรเข้ามามีส่วนร่วม ช่วยสร้างความรับผิดชอบร่วมกันในการรับมือ

 บริษัทหลายแห่งมีระบบตรวจสอบรอบด้านอยู่แล้ว ถ้าบริษัทของคุณมีระบบทำานองนี้ที่ใช้กับเรื่องอื่น   กับผลกระทบที่ถูกระบุ
 คุณก็สามารถต่อยอดหรือนำาระบบดังกล่าวมาปรับใช้สำาหรับ HRDD ได้ ยกตัวอย่างเช่น กระบวนการ
 ตรวจสอบรอบด้านเวลาที่จัดทำารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact
 Assessment: EIA) กระบวนการตรวจสอบรอบด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัย หรือกระบวนการทบทวน  ขั้นตอนที่จ�าเป็น

 ความเสี่ยงที่ต้องทำาเป็นประจำาทุกปี บริษัทของคุณต้องตัดสินใจว่าจะออกแบบกระบวนการตรวจสอบ
 รอบด้านแยกออกมาต่างหากสำาหรับประเด็นสิทธิมนุษยชน หรือว่าจะบูรณาการสิทธิมนุษยชนเข้าไป  1  ก�าหนดกรอบการประเมินอย่างเป็นระบบ
 ในกระบวนการที่มีอยู่เดิม แต่ไม่ว่าจะเลือกทางไหน ปกติแล้ววิธีที่ดีที่สุด คือ เลือกหรือประยุกต์ใช้วิธี
 ที่คนในองค์กรคุ้นเคยดีอยู่แล้ว เนื่องจากจะช่วยให้พวกเขาทำางานง่าย และคำานึงถึงแง่มุมต่างๆ ของ

 สิทธิมนุษยชนที่ไม่เหมือนกับประเด็นอื่น     การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนจะต้องเป็น กระบวนการต่อเนื่อง (On-going Process) ซึ่งทำาซ้ำาทุกครั้ง
            ที่ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอาจเปลี่ยนแปลงในสาระสำาคัญ มิใช่กระบวนการ “ครั้งเดียวจบ” ที่ทำาเฉพาะก่อนเริ่ม

            โครงการ หรือทำาเฉพาะเท่าที่กฎหมายกำาหนด รายงานการประเมินที่ต้องทำาตามกฎหมายนั้นมีบทบาทสำาคัญก็จริง
            แต่อาจมีแหล่งข้อมูลอื่นที่เกี่ยวกับผลกระทบ เช่น ข่าว รายงานของผู้เชี่ยวชาญ ประเด็นที่องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO)
            หรือสหภาพแรงงานระบุ รวมถึงเรื่องร้องเรียนที่บริษัทได้รับผ่านช่องทางต่างๆ







 40                                                                                                       41
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46