Page 46 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 46
กรอบการท�า HRDD 7
หลักการชี้แนะระบุอย่างชัดเจนว่า บริษัทควรเคารพในมาตรฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์กับรัฐ
เมื่อประกอบธุรกิจในพื้นที่ซึ่งมีความขัดแย้งติดอาวุธ
ในการประเมินความเสี่ยงของผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดจากความสัมพันธ์กับภาครัฐ บริษัทของคุณจะต้อง
สำาหรับการประกอบธุรกิจในบริบทที่มีความเสี่ยงสูงมาก ยกตัวอย่างเช่น พื้นที่ที่มีความขัดแย้งทางการเมือง ตระหนักในประเด็นที่ได้รับมาเป็น “ผลกระทบตกทอด” ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากบริษัทได้สิทธิในการใช้ที่ดินมาจากรัฐบาล
กฎหมายไม่ใส่ใจเรื่องสิทธิมนุษยชน หรือเกิดการทุจริตคอรัปชั่นอย่างกว้างขวาง ความรับผิดชอบของบริษัทในการเคารพ แต่รัฐบาลได้ที่ดินนั้นมาด้วยการขับไล่ประชาชนโดยไม่เคารพในหลักนิติรัฐ หรือไม่จ่ายค่าชดเชยให้ ในบางกรณี ประเด็น
คอร์รัปชันอย่างกว้างขวาง
สิทธิมนุษยชนไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อประกอบการในพื้นที่แบบนี้ และองค์ประกอบต่างๆ ของกระบวนการ HRDD ก็ยัง สิทธิมนุษยชนอาจเกิดจากการกระทำาของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงซึ่งไม่ได้ผ่านการอบรมเรื่องสิทธิมนุษยชน หรือมี
คงเดิมเช่นกัน อย่างไรก็ดี การเคารพสิทธิมนุษยชนในบริบทเช่นนี้มักจะต้องอาศัยความใส่ใจ ความพยายาม และ ประวัติการละเมิดสิทธิ หลักการความมั่นคงและสิทธิมนุษยชนโดยสมัครใจ (Voluntary Principles on Security and
ทรัพยากรมากกว่าปกติมาก Human Rights) ขององค์การสหประชาชาติ เสนอขั้นตอนสำาหรับการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการกระทำาของ
ฝ่ายความมั่นคง เช่น
3 ทบทวนความสัมพันธ์ทางธุรกิจ • ปรึกษาองค์กรภาคประชาสังคม ตัวแทนภาครัฐ และแหล่งอื่นๆ เพื่อระบุความเสี่ยงจากแนวโน้ม
ที่จะเกิดความรุนแรง
ความรับผิดชอบของบริษัทในการเคารพสิทธิมนุษยชนนั้นขยายไปครอบคลุมความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่างๆ ด้วย • สำารวจแบบแผนความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ปฏิบัติการของบริษัท เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษา
โดยเฉพาะการที่บริษัทต้องประเมินความเสี่ยงจาก การมีส่วนสร้างผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ไม่ว่าจะด้วยการส่งเสริม การคาดการณ์ และการป้องกันเหตุร้ายในอนาคต
สนับสนุน หรือสร้างแรงจูงใจ และการที่บริษัทเชื่อมโยงกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ผ่านสายสัมพันธ์ทางธุรกิจ • ศึกษาวิเคราะห์ประวัติด้านสิทธิมนุษยชนของหน่วยงานความมั่นคง กองทัพ ตำารวจ รวมถึงทหารพราน
นั่นคือ การกระทำาของพันธมิตรทางธุรกิจ คู่ค้า ผู้รับเหมา ฯลฯ ก่อให้เกิดผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการประกอบการ สินค้า และกองกำาลังกึ่งรัฐอื่นๆ
หรือบริการของบริษัท • ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงานภาครัฐและสถาบันตุลาการในการนำาตัวผู้ที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน
มาลงโทษ ในทางที่เคารพสิทธิของผู้ที่ถูกละเมิด
“ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ” ในแง่นี้ไม่จำากัดอยู่เพียงความสัมพันธ์ที่บริษัทมีสัญญาหรือข้อตกลงโดยตรงเท่านั้น
แต่ยังรวมถึงความสัมพันธ์ที่อยู่ห่างออกไปหนึ่งขั้นหรือมากกว่านั้นด้วย รวมถึงขั้นที่ลึกลงไปในห่วงโซ่อุปทาน เช่น
เกษตรกรที่ปลูกวัตถุดิบ ซึ่งขายต่อไปให้กับพ่อค้าคนกลาง ขายต่อไปให้กับโรงงานที่แปรรูปวัตถุดิบนั้นๆ มาเป็นวัตถุดิบ กิจการที่ถูกซื้อหรือควบรวมมา
ขั้นกลางที่ขายต่อไปให้กับบริษัทอีกทอดหนึ่ง
ถ้าหากบริษัทของคุณซื้อกิจการหรือสินทรัพย์ที่เคยมีส่วนเกี่ยวข้องกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ปกติแล้ว
บริษัทจะรับมอบความรับผิดชอบในการเยียวยาผลกระทบเหล่านั้นมาจากผู้ขายด้วย รวมถึงความรับผิดชอบในการ
บริษัทโดยทั่วไปจะมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่หลากหลายตลอดระยะต่างๆ ของวัฏจักรโครงการหรือวัฏจักรสินค้า
ตั้งแต่กระบวนการจัดซื้อจากต้นน้ำา ไปจนถึงกระบวนการปิดโรงงานหรือทิ้งของเสียที่ปลายน้ำา ความสัมพันธ์ที่ว่านี้ ป้องกันหรือบรรเทาความเสี่ยงว่าผลกระทบจะกลับมาใหม่ ด้วยเหตุนี้ การเข้าซื้อโครงการ สิทธิประโยชน์ หรือกิจการ
รวมถึงพันธมิตรทางธุรกิจที่ส่งมอบบริการและสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการหลักของบริษัท รวมถึงสินค้าและ ทั้งกิจการ จึงควรใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนเป็นขั้นตอนหนึ่งด้วย คุณอาจใช้วิธีกำาหนดให้การ
บริการเสริม (เช่น บริษัทจัดหาลูกจ้างชั่วคราว บริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือบริษัทจัดการขนส่ง) ตัดสินใจลงทุนทุกชนิดที่ให้คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบต้องมีการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนประกอบการ
นอกจากนี้ บริษัทของคุณยังน่าจะมีความสัมพันธ์กับรัฐบาลในระดับต่างๆ ซึ่งความสัมพันธ์ทั้งหมดนี้ล้วนแต่สำาคัญ เสนอคณะกรรมการ
ต่อการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนทั้งสิ้น ประเด็นต่อไปนี้สาธิตความเสี่ยงบางประการที่อาจเกิดขึ้นในบริบท
ของความสัมพันธ์ทางธุรกิจ พันธมิตรร่วมทุน (Joint Venture Partner)
ถ้าหากบริษัทของคุณกำาลังพิจารณาเลือกพันธมิตรมาร่วมทุน บริษัทก็ควรประเมินพันธมิตรดังกล่าวด้วยว่ามีความ
ทุ่มเทและศักยภาพในการจัดการความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนมากน้อยเพียงใด ปัจจัยที่สำาคัญในแง่นี้ต่อการพิจารณา
ว่าจะร่วมทุนหรือไม่ มีดังต่อไปนี้
46 47