Page 45 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 45
กรอบการท�า HRDD 7
ระดับพื้นที่ปฏิบัติการ หรือระดับองค์กร?
ลักษณะเฉพาะของกระบวนการประเมินด้านสิทธิมนุษยชน
ปรากฏ
การประเมินผลกระทบย่อมต้องจัดทำาในระดับพื้นที่ซึ่งผลกระทบปรากฎ บุคลากรประจำาพื้นที่อาจเป็นผู้นำาการ
ไม่ว่าคุณจะใช้วิธีประเมินผลกระทบอย่างไร ปัจจัยต่อไปนี้จะช่วยให้คุณสร้างความมั่นใจได้ว่าวิธีนั้นจะสะท้อน ประเมิน และมีบุคลากรจากสำานักงานใหญ่มาร่วมทีม หรือใช้วิธีว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอก ถ้าหากบริษัทของคุณมีพื้นที่
“หัวใจ” ของสิทธิมนุษยชน ปฏิบัติการหลายแห่ง การทบทวนความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นซ้ำาๆ ในหลายพื้นที่ หรือความเสี่ยงที่มีนัยสำาคัญ
จะช่วยให้บุคลากรในสำานักงานใหญ่ระบุประเด็นสำาคัญๆ ด้านสิทธิมนุษยชนได้อย่างตรงจุด
• ใคร? กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่น่าจะได้รับผลกระทบ หัวใจของการประเมินอยู่ที่สิทธิและมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย
ที่อาจได้รับผลกระทบ เพื่อทำาความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงผลกระทบจากบริษัท ยกตัวอย่างเช่น หากมีเกษตรกร
สูญเสียที่ดินทำากินหนึ่งแปลงจากการประกอบการของบริษัท บริษัทก็สามารถจ่ายค่าชดเชยได้โดยตรง 2 ท�าความเข้าใจกับบริบทการด�าเนินธุรกิจ
แต่ในกรณีอื่น เกษตรกรอาจสูญเสียหนทางในการดำารงชีพในระยะยาว รวมถึงสถานะทางสังคมไปด้วย เมื่อเขา
สูญเสียที่ดินทำากิน ถ้าหากบริษัทไม่ได้ข้อมูลจากปากคำาเกษตรกรรายนั้นเอง ก็ยากที่จะเข้าใจว่าเขาประสบผลกระ รัฐบาลต่างๆ มีพันธกรณีในการคุ้มครอง เคารพ และเติมเต็มสิทธิมนุษยชนภายใต้กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่าง
ทบอะไรบ้างจากการประกอบการของบริษัท ประเทศ เมื่อใดก็ตามที่รัฐล้มเหลวในการทำาหน้าที่เหล่านี้ มันก็นำาความท้าทายเพิ่มเติมมาสู่บริษัทที่พยายามแสดงความ
รับผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทต่างๆ จำาเป็นจะต้องเข้าใจความเสี่ยงเชิงบริบทเหล่านี้ จะได้สามารถ
• อะไร? สิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลทุกข้อ กระบวนการประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน วางขั้นตอนเพื่อหลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เมื่อใดก็ตามที่กฎหมายระดับชาติในการคุ้มครอง
จะต้องใช้สิทธิมนุษยชนสากลเป็นกรอบตั้งต้น รวมถึงมาตรฐานที่ใช้กับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อาจ สิทธิมนุษยชนไม่มีอยู่ มีอยู่แต่อ่อนแอหรือไม่ถูกบังคับใช้ บริษัทก็ควรเคารพสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในระดับ
เปราะบางหรืออ่อนไหวเป็นพิเศษ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ ผู้พิการ เป็นต้น ข้อนี้แปลว่ากระบวนการประเมินควรมี สากล เมื่อใดที่กฎหมายระดับชาติขัดแย้งกับสิทธิมนุษยชน บริษัทก็ควรเคารพในหลักการของสิทธิมนุษยชนอย่างดีที่สุด
ลักษณะต่อไปนี้
เท่าที่สามารถทำาได้ และสามารถสาธิตให้เห็นว่าได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่แล้ว
• มีขอบเขตที่กว้าง แทนที่จะจำากัดอยู่เพียงวาระของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในบริษัท การประเมินความเสี่ยงเชิงบริบท (Contextual Risks)
• พิจารณาผลกระทบต่อตัวบุคคล ไม่ใช่เฉพาะระดับครัวเรือนหรือชุมชนเท่านั้น
• ระบุกรณีที่กฎหมายคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของคนบางกลุ่ม (เช่น แรงงานข้ามชาติ) น้อยกว่าสิทธิ มีปัจจัยมากมายที่ส่งผลต่อความเสี่ยงของการประกอบธุรกิจในประเทศใดประเทศหนึ่ง เช่น
ของคนกลุ่มอื่น
• ระบุความท้าทายด้านสิทธิมนุษยชนที่มีอยู่เดิมในสังคม (เช่น ทัศนคติเหยียดหยามและเลือกปฏิบัติ • ปัจจัยด้านเศรษฐสังคม เช่น ระดับความยากจน และการถูกกีดกันให้อยู่ชายขอบของคนบางกลุ่มในสังคม
ต่อแรงงานข้ามชาติ) • ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อประชาธิปไตย นิติรัฐ และ/หรือสันติภาพ
• มองให้พ้นไปจากกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่ชัดเจนที่สุด ว่าจะได้รับผลกระทบ รวมไปถึงกลุ่มอื่นๆ ทั้งที่อยู่ และความมั่นคงในประเทศ
ภายในและภายนอกขอบเขตการปฏิบัติการของบริษัท และครอบคลุมกลุ่มที่เปราะบาง • คอร์รัปชั่นในภาคส่วนต่างๆ
คอร์รัปชันในภาคส่วนต่าง ๆ
หรืออยู่ชายขอบ
• การไร้ซึ่งกลไกเยียวยาผ่านระบบยุติธรรมที่มีประสิทธิผล
• การที่รัฐไม่แยแสต่อสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ หรือไม่แยแสต่อสิทธิมนุษยชนของสมาชิกบางกลุ่ม
• อย่างไร? ด้วยการใช้วิธี “ปรึกษาหารืออย่างมีความหมาย” (Meaningful Consultation) ถ้าหากบริษัท
ไม่ปรึกษาตัวผู้มีส่วนได้เสียโดยตรง กระบวนการประเมินก็ไม่อาจนำามุมมองของพวกเขาเข้ามาประกอบได้ • ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นแล้วหรือที่รอวันปะทุ ตั้งแต่การทะเลาะวิวาท จนถึงความรุนแรงติดอาวุธ
นั่นหมายความว่าบริษัทของคุณต้องไม่ใช้วิธีคิดแบบ “ทำาให้จบๆ ไป” เท่านั้น – ดูส่วนถัดไปสำาหรับรายละเอียด
ของกระบวนการ “ปรึกษาหารืออย่างมีความหมาย” นัยของกฎหมายระดับชาติต่อสิทธิมนุษยชน บริษัทของคุณจะต้องแยกแยะระหว่าง
• ที่ไหน? ตลอดสายสัมพันธ์ทางธุรกิจและกิจกรรมทางตรงของบริษัท กระบวนการ HRDD เรียกร้องให้บริษัท
พิจารณาว่าความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่างๆ ของตนอาจก่อให้เกิดผลกระทบอะไรบ้าง กระบวนการประเมินผล • กฎหมายที่คุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่ำากว่าหลักสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
กระทบทั่วๆ ไปอาจมองว่า ผลกระทบตกทอด (Legacy Impacts) ซึ่งบริษัทได้รับมาจากการควบรวม • กฎหมายที่สะท้อนหลักสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล แต่ไม่ถูกบังคับใช้เนื่องจาก
หรือซื้อกิจการของบริษัทอื่นนั้นอยู่ “นอกเหนือขอบเขต” ความรับผิดชอบของบริษัท แต่แท้ที่จริง ความอ่อนแอของขั้นตอนทางกฎหมายหรือระบบราชการ
ผลกระทบเหล่านี้อยู่ในขอบเขตความรับผิดชอบของบริษัทอย่างแน่นอน เมื่อมองจากมุมการประเมิน • กฎหมายที่ขัดแย้งกับหลักสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลอย่างชัดเจน
ด้านสิทธิมนุษยชน – ดูส่วนถัดไปสำาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางธุรกิจ
44 45