Page 34 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 34
ประเด็นด้านสิทธิ
6
ที่โรงแรมควรใส่ใจ
6
5 ขยายความทุ่มเทไปสู่สายสัมพันธ์ทางธุรกิจ
ประเด็นด้านสิทธิที่โรงแรมควรใส่ใจ
นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทจะต้องถูกบูรณาการเข้าไปในสายสัมพันธ์ต่างๆ ที่องค์กรมีกับองค์กรอื่น
รวมถึงในเงื่อนไขสัญญาต่างๆ ด้วย เพื่อให้เกิดความชัดเจนว่าบริษัทคาดหวังว่าทุกองค์กรที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ จากการประมวลข้อมูลต่างๆ จากเอกสารและการรับฟังความเห็นต่อร่างคู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนอย่าง
จะต้องเคารพสิทธิมนุษยชนเช่นเดียวกัน และนี่ไม่ใช่ “ประเด็นเสริมที่ต่อรองกันได้” การบูรณาการนโยบายบริษัทเข้าไป รอบด้าน (Human Rights Due Diligence) ของธุรกิจการโรงแรมและร่างรายการตรวจสอบ (Checklist) ที่เกี่ยวข้องกับ
ในเงื่อนไขสัญญาและข้อตกลงต่างๆ จะช่วยเพิ่ม “แรงงัด” (Leverage) ของบริษัท นั่นคือ ความสามารถในการส่งอิทธิพล ธุรกิจการโรงแรม สามารถสรุปประเด็นด้านสิทธิบางประเด็นที่ธุรกิจโรงแรมควรให้ความสำาคัญ โดยสังเขปได้ดังต่อไปนี้
ต่อพฤติกรรมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจด้วย และเงื่อนไขเหล่านี้อาจเป็นรากฐานสำาหรับการติดต่อพูดคุยเรื่องนี้ (ดูรายละเอียดใน “รายการตรวจสอบ” แนบคู่มือฉบับนี้)
อย่างสม่ำาเสมอ หรือสำาหรับทบทวนการจัดการความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท
ท�าให้ถูกต้องตั้งแต่ต้น 1 การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการก่อสร้างโรงแรมใหม่ หรือขยายโรงแรมเดิม
ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนหลายข้อของบริษัท รวมถึงศักยภาพของบริษัทในการบรรเทาความเสี่ยงเหล่านั้น • การจัดการที่ดิน เช่น ผู้ที่อาศัยอยู่บนที่ดินผืนนั้นมีความจำาเป็นจะต้องย้ายออกในการก่อสร้างโรงแรมหรือไม่
ถูกกำาหนดในเงื่อนไขสัญญาที่ทำากับพันธมิตรทางธุรกิจ คู่ค้า ผู้รับเหมา ตลอดจนข้อตกลงกับรัฐบาล บันทึกความเข้าใจ • คุณภาพ ความพอเพียง และการเข้าถึงแหล่งน้ำา
ต่างๆ บุคลากรของบริษัทที่มีหน้าที่เจรจาต่อรองสัญญาและข้อตกลงเหล่านี้จะต้องได้รับแนวปฏิบัติที่ชัดเจนจากองค์กร • ผลกระทบด้านวัฒนธรรม
• การจัดการความปลอดภัยระหว่างการก่อสร้าง
บริษัทของคุณควรคำานึงถึงประเด็นต่อไปนี้ ก่อนและหลังการลงนามในสัญญาหรือข้อตกลง • สภาพแวดล้อม
2 การใช้แรงงานข้ามชาติ
• มองหาหลักฐานว่า พันธมิตรทางธุรกิจ คู่ค้า หรือผู้รับเหมามีศักยภาพและ
ความเต็มใจที่จะปฏิบัติตามข้อกำาหนดในสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน • การจัดหาแรงงาน เช่น โรงแรมห้ามการจ้างงานหรือการขนส่งแรงงานที่ใช้การข่มขู่คุกคาม ใช้กำาลัง
• อธิบายให้ชัดเจนว่า บริษัทคาดหวังให้พันธมิตร คู่ค้า หรือผู้รับเหมา “ส่งต่อ” การหลอกลวง หรือการลักพาตัวหรือไม่?
ความคาดหวังว่าจะเคารพสิทธิมนุษยชน ไปยังองค์กรอื่นๆ ในห่วงโซ่อุปทาน • หนังสือเดินทาง / เอกสารแสดงตน
ของพวกเขาด้วย และมองหาหลักฐานที่ว่าพวกเขาได้ส่งต่อความคาดหวัง • เงื่อนไขการจ้างงาน เช่น แรงงานข้ามชาติได้รับค่าจ้างไม่น้อยกว่าตามกฎหมายค่าแรงขั้นต่ำา และได้รับสวัสดิการ
ดังกล่าวในทุกโอกาสที่ทำาได้ ไม่น้อยกว่าที่กฎหมายกำาหนดหรือไม่
3 การใช้ลูกจ้างรับเหมาค่าแรง
• การจ้างงาน เช่น โรงแรมใช้เฉพาะลูกจ้างประจำาในหน้าที่สำาคัญๆ หรือไม่ ลูกจ้างรับเหมาค่าแรงเข้าใจข้อตกลง
ถ้าหากบริษัทของคุณมีรัฐเป็นเจ้าของ หรือเป็นผู้ถือหุ้นรายสำาคัญที่มีอำานาจควบคุม คุณจะต้องคำานึงว่า
คุณมีบทบาทในการให้รัฐบาลปฏิบัติตามพันธกรณีต่างๆ ด้านสิทธิมนุษยชนด้วย อาทิ การเข้ามาทำางานหรือไม่
• สภาพแวดล้อมในที่ทำางาน
• การจัดการลูกจ้างรับเหมาค่าแรง เช่น โรงแรมมีกระบวนการตรวจสอบ (Audit) การใช้แรงงานของผู้รับเหมาหรือ
คู่ค้าอย่างไม่เป็นทางการเป็นครั้งคราวหรือไม่
• การสร้างหลักประกันว่านโยบายต่างๆ ของรัฐจะสอดคล้องกับมาตรฐาน
สิทธิมนุษยชน และเป็นเนื้อเดียวกันตลอดทุกกระทรวง ทบวง กรม และ
หน่วยงานราชการอื่นๆ ที่ติดต่อกับบริษัทของคุณ 4 ลูกค้า
• หยิบยกประเด็นสิทธิมนุษยชนขึ้นมาในการหารือระหว่างรัฐบาลกับบริษัท • มาตรการรักษาความปลอดภัย
• พัฒนาแนวปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชน สำาหรับรัฐวิสาหกิจและบริษัทอื่นๆ • การไม่เลือกปฏิบัติ
ที่รัฐมีอำานาจควบคุม
• การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
34 35