Page 31 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 31
หลักการของ HRDD 5
ให้ฝ่ายต่างๆ ในบริษัทมีส่วนร่วม
3 สื่อสารนโยบาย
ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการดำาเนินงานของหลายฝ่ายภายในบริษัท ยกตัวอย่างเช่น
ฝ่ายทรัพยากรบุคคลส่วนใหญ่จะดูความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน ลูกจ้าง และลูกจ้างรับเหมาค่าแรง (Sub-contract)
เป็นหลัก ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้างอาจดูเรื่องสิทธิของแรงงานหรือผู้จำาหน่ายวัตถุดิบในห่วงโซ่อุปทาน ส่วนฝ่ายพัฒนาโครงการ นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทควรประกาศและเปิดเผยต่อสาธารณะ จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
ก็มักจะเน้นเรื่องผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่น ซึ่งบริษัทที่มีขนาดเล็กอาจมีผู้จัดการไม่กี่คนแบ่งกันดูความเสี่ยงเหล่านี้ คณะผู้บริหารสูงสุดของบริษัท และสื่อสารภายในไปยังบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อส่งสัญญาณว่าเรื่องนี้สำาคัญและช่วยบูรณาการ
นอกจากนี้ สหภาพแรงงานหรือตัวแทนลูกจ้างภายในองค์กรก็อาจเป็นผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน นโยบายนี้เข้าไปในการดำาเนินธุรกิจตลอดสาย นอกจากนี้ นโยบายดังกล่าวจะต้องได้รับการสื่อสารภายนอกไปยังคู่ค้า
มาตรฐานทางเทคนิค หรือสภาพแวดล้อมในตลาดแรงงานที่อาจส่งผลต่อสิทธิของแรงงานได้ พันธมิตรทางธุรกิจ และองค์กรอื่นๆ ในห่วงโซ่คุณค่าขององค์กร รวมถึงคนที่อาจได้รับผลกระทบจากการดำาเนินธุรกิจ
มองหาความเชี่ยวชาญจากภายนอก แสดงความทุ่มเทของคณะผู้บริหารสูงสุดต่อนโยบาย
ถ้าบริษัทของคุณไม่มีผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนภายในองค์กร ก็สามารถมองหาจากภายนอกบริษัทได้ในการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) และผู้บริหารระดับสูงคนอื่นๆ ควรส่งสารอย่างชัดเจนและสม่ำาเสมอเพื่อกำาหนด
พัฒนานโยบาย ถ้าบริษัทของคุณมีขนาดเล็ก การศึกษาแนวปฏิบัติในเรื่องนี้ของสมาคมทางธุรกิจ แนวร่วมของผู้มี “น้ำาเสียง” ขององค์กร (Tone at the Top) และช่วยเรียกร้องความสนใจไปยังตัวนโยบายและการ “ปลูกฝัง” เข้าไปใน
ส่วนได้เสีย หรือองค์กรต่างๆ ที่ทำางานด้านสิทธิมนุษยชน ก็เป็นจุดตั้งต้นที่ดีได้ วัฒนธรรมองค์กร บริษัทหลายแห่งมีประสบการณ์ที่คล้ายกันมาแล้วก่อนหน้านี้ในประเด็นสุขภาพและความปลอดภัย
ของพนักงาน วิธีที่ใช้ได้สำาหรับสิทธิมนุษยชน อาทิ
การเปรียบเทียบนโยบายบริษัทของคุณกับนโยบายของบริษัทอื่นๆ ที่อยู่ในธุรกิจเดียวกันอาจเป็นประโยชน์
โดยเฉพาะถ้าเปรียบเทียบกับบริษัทที่ได้รับการยอมรับว่าเป็น “ผู้นำา” ด้านการเคารพสิทธิมนุษยชน
• อ้างอิงประเด็นสิทธิมนุษยชนและกระบวนการตรวจสอบอย่างรอบด้าน
อย่างสม่ำาเสมอ ในสุนทรพจน์ของผู้บริหาร ทั้งภายในและภายนอกบริษัท
ให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วม • ผู้บริหารระดับสูงสอบถามถึงความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน หรือผลประกอบการ
ด้านสิทธิมนุษยชน เวลาที่ประชุมกันในประเด็นสำาคัญทางธุรกิจ เช่น
คุณควร “ทดสอบ” ร่างนโยบายของบริษัทกับตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มหลัก เพื่อช่วยให้บริษัททำาความเข้าใจว่า การอนุมัติโครงการใหม่
นโยบายนั้นเมื่อประกาศออกไปแล้วจะถูกมองจากผู้มีส่วนได้เสียเหล่านั้นอย่างไร ตัวอย่างวิธีที่ใช้ได้ อาทิ • เผยแพร่ตัวอย่างการแสดงความรับผิดต่อสิทธิมนุษยชน ให้บุคลากรรับรู้
เป็นการภายในตลอดทั้งบริษัท ไม่ว่าจะเป็นกรณีให้รางวัลหรือระงับการ
ดำาเนินธุรกิจ (เช่น กับคู่ค้าที่ละเมิดสิทธิ) โดยตัวอย่างต่างๆ อาจปิดบังชื่อ
• สอบถามความเห็นจากตัวแทนสหภาพแรงงาน บริษัท หรือชื่อ-นามสกุลจริง ถ้าจำาเป็น
• สอบถามความเห็นจากตัวแทนชุมชนท้องถิ่นหรือองค์กรพัฒนาเอกชน • ยกประเด็นสิทธิมนุษยชนขึ้นเป็นประเด็นแรกๆ ของผู้บริหารระดับสูง
(NGO) ในพื้นที่ปฏิบัติการหลัก เวลาหารือกับองค์กรที่สนใจจะจับมือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ หรือหน่วยงาน
• สอบถามความเห็นจากนักลงทุน โดยเฉพาะกองทุนที่ใช้หลักการลงทุนอย่าง ราชการต่างๆ
รับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Investment: SRI) ซึ่งมีความ
เชี่ยวชาญในด้านนี้
• จัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาอย่างเป็นทางการเพื่อขอความเห็น คณะ
กรรมการดังกล่าว อาจประกอบด้วย ตัวแทนจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เลือก “วิธี” และ “ภาษา” ที่เหมาะสม
แห่งชาติ (กสม.) องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) สหภาพแรงงาน กองทุน
ที่ลงทุนอย่างรับผิดชอบต่อสังคม และผู้เชี่ยวชาญอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะ คุณจะต้องพิจารณาว่าผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ อาทิ พนักงาน ชุมชนท้องถิ่น ฯลฯ ปกติแล้วเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไร
กรรมการนี้อาจมีบทบาทในระยะยาวด้วย เช่น ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะ เช่น จะใช้การสื่อสารในลักษณะข้อเขียน คำาพูด หรือภาพ จะใช้ภาษาใด (ภาษาพื้นถิ่นอาจสำาคัญ) และจะใช้เทคโนโลยี
ต่อความพยายามของบริษัทที่จะลงมือปฏิบัติตามนโยบายขององค์กร หรือไม่อย่างไร เพื่อตัดสินใจว่าบริษัทจะสื่อสารความทุ่มเทต่อนโยบายนี้ภายในและภายนอกได้อย่างไรให้เกิดประสิทธิผล
สูงสุด
30 31