Page 28 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 28
หลักการของ HRDD 5
• ความทุ่มเทของบริษัทในการดำาเนินกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชน
ขั้นตอนที่จ�าเป็น อย่างรอบด้าน (HRDD) อย่างสม่ำาเสมอ โดยอาจระบุว่าบริษัทจะใช้
กระบวนการนี้ในขั้นตอนใดของการดำาเนินธุรกิจ (เช่น ก่อนการก่อสร้าง
โครงการใหม่)
• รูปแบบกลไกการรับเรื่องร้องเรียนในระดับปฏิบัติการ
• ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนข้อหลักๆ ที่บริษัทค้นพบ และแนวทางในการ
1 นิยามเนื้อหานโยบาย รับมือ
• วิธีให้ผู้มีส่วนได้เสียที่อาจได้รับผลกระทบเข้ามามีส่วนร่วม และกระบวนการ
ปรึกษาหารือ
นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท (Corporate Human Rights Policy) ควรประกาศความทุ่มเทเป็นการทั่วไป • วิธีสื่อสารเรื่องนี้ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ และสังคมในวงกว้าง
ที่จะเคารพใน “สิทธิมนุษยชนตามหลักสากล” ตลอดทุกขั้นตอนในการดำาเนินธุรกิจ บริษัทควรอธิบายอย่างชัดเจนว่า
ความทุ่มเทดังกล่าวครอบคลุมบุคลากร (ทั้งพนักงานประจำา ลูกจ้าง และลูกจ้างของผู้รับเหมาช่วง) ตลอดจนความ
คาดหวังที่บริษัทมีต่อพันธมิตรทางธุรกิจ ทั้งที่ใกล้ชิดและอยู่ไกลออกไปในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) หรือห่วงโซ่อุปทาน นอกจากนี้ นโยบายอาจอ้างอิงชุดหลักการสากลหรือแนวร่วมสากล ซึ่งสอดคล้องกับสิทธิมนุษยชนที่ได้รับการ
(Supply Chain) บริษัทควรทบทวนนโยบายนี้เป็นระยะๆ เพื่อสะท้อนความเปลี่ยนแปลงในสาระสำาคัญที่อาจเกิดขึ้น ยอมรับในระดับสากล และบริษัทพร้อมที่จะปฏิบัติตาม การอ้างอิง “หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่ง
ในแง่ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท เช่น เนื่องจากบริษัทมีความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนเพิ่มเติมและมี สหประชาชาติ” หรือ UNGP ในนโยบายถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี
รูปแบบใหม่ๆ หลังจากที่ไปเปิดโครงการหรือกิจการใหม่ หรือไปว่าจ้างคู่ค้าหรือผู้รับเหมาหลักรายใหม่ เป็นต้น
สำาหรับบริษัททั่วไปในประเทศไทยที่มีห่วงโซ่อุปทาน และมีสถานประกอบการอย่างน้อยหนึ่งแห่ง ความเสี่ยงด้าน
สิทธิมนุษยชนประการสำาคัญๆ มักเป็นเรื่องต่อไปนี้
ก�าหนดนโยบายต่างหาก หรือบูรณาการเข้ากับนโยบายเดิม?
บริษัทอาจบูรณาการความเคารพในสิทธิมนุษยชนเข้าไปในนโยบายระดับสูงที่มีอยู่แล้ว เช่น จรรยาบรรณในการ • สิทธิมนุษยชนของแรงงาน รวมถึงสิทธิในการรวมกลุ่มและจัดตั้งสหภาพ
ดำาเนินธุรกิจ (Code of Conduct) หรือหลักการบริหารธุรกิจ (Business Principles) ถ้าหากคุณเป็นบริษัทขนาดเล็ก คุณก็ การขจัดแรงงานบังคับทุกรูปแบบ รวมถึงในห่วงโซ่อุปทาน
อาจเพิ่มเติมสิทธิมนุษยชนเข้าไปในนโยบายที่มีอยู่แล้วในด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม หรือไม่คุณอาจ • การไม่เลือกปฏิบัติต่อแรงงานและสมาชิกในชุมชนท้องถิ่น
ประกาศนโยบายสิทธิมนุษยชนแยกออกมาต่างหาก ทั้งสองวิธีนี้มีประสิทธิภาพพอๆ กัน กุญแจสำาคัญอยู่ที่การเลือกวิธี • สิทธิที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการของชุมชนท้องถิ่น (รวมถึงสิทธิในสุขภาพ
ที่จะสามารถ “ส่งสัญญาณ” ได้อย่างชัดเจนว่า บริษัทให้ความสำาคัญกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และช่วยบูรณาการ การศึกษา ความเป็นอยู่ที่ดี การใช้ที่ดิน และการเข้าถึงอาหารและน้ำา)
ความเคารพดังกล่าวเข้าไปในวัฒนธรรมขององค์กร นอกจากนี้ การตัดสินใจนโยบายดังกล่าวมี “ที่ทาง” ในบริษัทแล้ว
หรือยัง ควรตั้งอยู่บนการทบทวนว่าใครหรือฝ่ายใดในองค์กรควรเป็น “เจ้าของ” นโยบายนี้ และช่วยผลักดันกระบวนการ
บูรณาการ
2 พัฒนานโยบาย
เนื้อหาที่ส�าคัญของนโยบายควรประกอบด้วยอะไรบ้าง?
นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทอย่างน้อยที่สุดควรสะท้อนความทุ่มเทว่า บริษัทจะรับผิดชอบต่อการเคารพ บริษัทควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้มั่นใจได้ว่านโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทตั้งอยู่บนข้อมูลที่รอบด้าน
สิทธิมนุษยชนทุกข้อซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และระบุอย่างชัดเจนว่าบริษัทคาดหวังอย่างไรจากพนักงาน พันธมิตร และครบถ้วนสมบูรณ์ ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้อาจเป็นปัจเจกบุคคลที่มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการ
ทางธุรกิจ และองค์กรอื่นๆ ในห่วงโซ่คุณค่าของตน ในแง่ของการเคารพสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ นโยบายควรครอบคลุม สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือถ้าหากบริษัทมีเวลาจำากัด ก็ควรอ้างอิงงานวิจัยหรือเอกสารที่น่าเชื่อถือ
ข้อมูลอื่นๆ ซึ่งเป็นที่สนใจของผู้มีส่วนได้เสีย เช่น
28 29