Page 41 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 41
กิจกรรม และ ผู้เข้าร่วมในส่วนกลาง วัตถุประสงค์ หมายเหตุ
๔. การสัมมนาระดับชาติ เรื่อง “สู่แนวปฏิบัติ • สร้างความเข้าใจ • กสม. และองค์กรเครือข่ายน�าเสนอปัญหาผ่าน
เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความยุติธรรมของ ถึงปัญหาการเข้า วีดีทัศน์เรื่อง “เรื่องเล่าใต้ฮิญาบ” ที่ผู้หญิงถูก
๒๔
ผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้” ถึงความยุติธรรม ละเมิดจากผู้มีอิทธิพลด้วยกฎชุมชน และไม่ได้เข้า
(๒๑ เมษายน ๒๕๕๘ ที่กรุงเทพมหานคร) ของผู้หญิงมุสลิม ถึงความยุติธรรมจากกลไกศาสนาและกลไกรัฐ
จังหวัดชายแดน • UN Women ชื่นชมบทบาทน�าของประเทศไทย
กลุ่มเป้าหมาย ๑๕๐ คน ภาคใต้ ในการถอนข้อสงวน CEDAW ข้อ ๑๖ ซึ่งคณะ
• เฉพาะหน่วยงานภาครัฐในส่วนกลาง • ระดมความเห็น กรรมการ CEDAW ได้ให้ข้อสังเกตแก่ประเทศ
• ภาคประชาสังคม ขององค์การ ภาคีทั้งหลายที่มีข้อสงวนที่ข้อ ๑๖ ว่า เหตุผล
• องค์กรผู้หญิง ระหว่าประเทศ เกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีไม่สามารถ
• สื่อมวลชน (UN Women) น�ามาเป็นเหตุผลในการเลือกปฏิบัติได้ และมี
และองค์กร ข้อเสนอแนะให้มีแนวปฏิบัติส�าหรับหน่วยงาน
ภาครัฐต่อร่าง ภาครัฐที่จะไม่ปล่อยให้ผู้กระท�าความรุนแรงต่อ
ข้อเสนอแนะ ผู้หญิงและเด็กหญิงไม่ถูกลงโทษ
ของผู้หญิง • หน่วยงานรัฐ ภาครัฐน�าเสนอความคืบหน้าและ
มุสลิมในเรื่อง แผนในการด�าเนินงานที่เกี่ยวข้อง
ความรุนแรง • เครือข่ายกลุ่ม/องค์กรผู้หญิงมุสลิมประมวล
ในครอบครัว ความเห็นที่รวบรวมได้จัดท�าเป็นตารางสรุป
และควารุนแรง ข้อเสนอแนะของผู้หญิงมุสลิมเพื่อพัฒนาแนว
ทางเพศใชุมชน ปฏิบัติในการส่งเสริมการเข้าถึงความยุติธรรม
ตามกรอบการ ของผู้หญิงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ดังตาราง
อภิปราย ดังนี้ แนบท้าย)
๑) จะมีแนวทาง
ปฏิบัติอย่างไร
๒) ข้อเสนอที่จะ
ด�าเนินการ
เร่งด่วน
๓) จะผลักดัน
ข้อเสนอไปสู่
การปฏิบัติได้
อย่างไร
๒๔ https://www.youtube.com พิมพ์ “เรื่องเล่าใต้ฮิญาบ final 25/05/2015” ซึ่งกสม.และองค์กรเครือข่ายได้ร่วมกันจัดท�าและเผยแพร่แก่สาธารณะพร้อมกิจกรรมโครงการผ่านสื่อ
โทรทัศน์ด้วย
30 ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้