Page 418 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 418

394


                                                                                               362
                           คดีแรก Bliss  v.  Attorney  General  of Canada ซึ่งศาลสูงสุดตัดสินในปี 1979  โดยศาลได๎
                   วินิจฉัยประเด็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงการตั้งครรภ์ ซึ่งศาลเห็นวํากฎหมายที่พิพาทในคดีนั้น

                   (กฎหมายประกันการวํางงาน) วางหลักปฏิบัติตํอสตรีตั้งครรภ์แตกตํางจากผู๎อื่นด๎วยเหตุที่สตรีผู๎นั้นตั้งครรภ์
                   มิใชํด๎วยเหตุที่ผู๎นั้นมีเพศเป็นสตรี ดังนั้นการปฏิบัติที่ไมํเทําเทียมกันจึงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ มิใชํเกิดจาก
                   กฎหมาย ศาลจึงสรุปวําการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงการตั้งครรภ์นั้นไมํเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศ


                                                                                                         363
                           คดีที่สอง Brooks  v.  Canada  Safeway ในปี 1989 ศาลได๎เปลี่ยนแนววินิจฉัยโดยตัดสินวํา
                   การปฏิบัติที่แตกตํางด๎วยเหตุแหํงการตั้งครรภ์นั้นไมํอาจเป็นอยํางอื่นไปได๎นอกจากการปฏิบัติที่แตกตํางด๎วย
                   เหตุแหํงเพศ หรืออยํางน๎อยที่สุดเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางด๎วยเหตุ “เกี่ยวกับเพศ” (Sex-related) ศาลใน

                   คดีนี้ได๎ย๎อนไปพิจารณาถึงคดี Bliss  และอธิบายวํา ในปัจจุบันแรงงานหญิงมีบทบาทพัฒนาเศรษฐกิจและ
                   สังคม เป็นการไมํยุติธรรมที่จะกําหนดให๎เกิดภาระต๎นทุนทั้งหมดแกํสตรีที่ตั้งครรภ์ และเป็นการยากที่จะ
                   พิจารณาวําเงื่อนไขตามกฎหมายที่บังคับใช๎กับผู๎ตั้งครรภ์ซึ่งโดยธรรมชาติจะต๎องเป็นหญิงเทํานั้น มิใชํเป็น
                   เงื่อนไขที่ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติตํอหญิง ดังนั้นเป็นการยากที่จะยอมรับวําความไมํเทําเทียมกันที่เกิดขึ้นกับ

                   Bliss ในคดีกํอนนั้นเกิดจากธรรมชาติ เนื่องจากการตั้งครรภ์เป็นคุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเพศหญิงและ
                   เป็นคุณลักษณะประการหนึ่งที่จําแนกความแตกตํางระหวํางหญิงและชาย ดังนั้น ความแตกตํางบนพื้นฐาน
                   ของการตั้งครรภ์ไมํเป็นเพียงความแตกตํางระหวํางบุคคลซึ่งตั้งครรภ์กับบุคคลซึ่งไมํตั้งครรภ์ หากแตํเป็น
                   ความแตกตํางบนพื้นฐานแหํงเพศซึ่งมีความสามารถในการตั้งครรภ์กับเพศซึ่งไมํมีความสามารถในการ

                   ตั้งครรภ์ หากนําตรรกะแนวการพิจารณาเชํนนี้มาปรับใช๎กับกรณีการให๎นมบุตรจากอกแมํ จะเห็นได๎วํา
                   ความสามารถในการให๎นมบุตรจากอกเป็นคุณสมบัติเฉพาะของเพศหญิง ดังนั้น การปฏิบัติที่แตกตําง
                   ระหวํางลูกจ๎างที่สามารถให๎นมบุตรจากอก กับ ลูกจ๎างที่ไมํสามารถให๎นมบุตรจากอก จึงเป็นการปฏิบัติที่

                   แตกตํางหรือการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศนั่นเอง

                           จากแนวคําตัดสินของศาลดังกลําวข๎างต๎น คณะผู๎พิจารณาจึงเห็นวํา การเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํง

                   การให๎นมบุตรนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศ จะเห็นได๎วํา การตีความนี้ทําให๎สามารถคุ๎มครอง
                   สิทธิของผู๎ถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุซึ่งมิได๎บัญญัติไว๎โดยตรงตามตัวบทกฎหมายแตํเป็นเหตุที่มีความสัมพันธ์
                   และเชื่อมโยงกับเหตุที่กฎหมายระบุไว๎


                           การเลือกปฏิบัติ คือการปฏิบัติที่แตกตําง ไมํวําโดยเจตนาหรือไมํก็ตาม บนพื้นฐานที่เกี่ยวข๎องกับ
                   คุณลักษณะของบุคคลหรือกลุํมบุคคล ซึ่งสํงผลให๎เกิดภาระ หน๎าที่ หรือความเสียเปรียบตํอบุคคลหรือกลุํม
                                                                                              364
                   บุคคลนั้น หรือเป็นการจํากัดการเข๎าถึงโอกาส ผลประโยชน์ ที่บุคคลอื่นในสังคมมีสิทธิได๎รับ








                   362  Bliss v. Attorney General of Canada, [1979] 1 S.C.R. 183
                   363  Brooks v. Canada Safeway, [1989] 1 S.C.R. 1219, 10 C.H.R.R. D/6183
                   364
                      Andrews v. Law Society ofBritish Columbia, [1989] 1 S.C.R. 143 at 175, 10 C.H.R.R. D/5719 at D/5746,
   413   414   415   416   417   418   419   420   421   422   423