Page 275 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 275

251


                     ประเทศ        กฎหมาย          การปฏิบัติที่     การปฏิบัติที่ไม่    เกณฑ์การจ าแนก
                                                   ต้องห้ามตาม        ต้องห้ามตาม       ระหว่างการปฏิบัติที่

                                                     กฎหมาย             กฎหมาย        ต้องห้ามและไม่ต้องห้าม
                                                                                           ตามกฎหมาย
                                                                                      (คําพิพากษา Public
                                                                                      Prosecutor v. Taw

                                                                                      Cheng Kong [1998] 2
                                                                                      S.L.R.(R.) 489)
                   ไทย         รัฐธรรมนูญ       การเลือกปฏิบัติโดย  ไมํได๎ระบุคําไว๎  รัฐธรรมนูญไมํได๎กําหนด

                               (2540 / 2550)  ไมํเป็นธรรม          เฉพาะ              เกณฑ์การพิจารณา
                                                                                      จําแนกไว๎อยํางชัดแจ๎ง
                                                                                      ต๎องพิจารณาจากแนว
                                                                                      วินิจฉัยของศาล





                           นอกจากนี้ สําหรับกฎหมายไทยนั้น ผู๎วิจัยมีข๎อสังเกตวํา มีการนําองค์ประกอบ “ไมํเป็นธรรม” มา
                   ประกอบกับคําวํา “การเลือกปฏิบัติ”  ดังจะเห็นได๎จากคําวํา “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม”  ถูก
                   นํามาใช๎ทั้งในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชน รัฐธรรมนูญ และ บริบทของกฎหมายปกครอง สําหรับใน

                   บริบทกฎหมายปกครองนั้น เห็นได๎จากพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธิพิจารณาคดีปกครอง
                   (มาตรา 9) ที่บัญญัติคําวํา “การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม” ไว๎ และจากการศึกษาคําพิพากษาศาลปกครอง
                   พบวํา การตีความการเลือกปฏิบัติตามแนวศาลปกครองมีความแตกตํางจากการตีความการเลือกปฏิบัติตาม

                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ โดยศาลได๎วินิจฉัยวํากฎ คําสั่งทางปกครอง ที่พิพาทนั้นเลือกปฏิบัติ
                   โดยไมํเป็นธรรม ในกรอบอยํางกว๎างกลําวคือไมํจํากัดแฉพาะเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชนระหวํางประเทศ เชํน เพศ เชื้อชาติ ศาสนา ฯลฯ โดยในหลายคดีศาลพิจารณาประกอบกับการใช๎
                   ดุลพินิจของเจ๎าหน๎าที่รัฐในกรณีนั้นวํามีการใช๎ดุลพินิจที่มิชอบและเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม จึงอาจกลําว
                   ได๎วํา “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” จะมีความหมายและขอบเขตที่แตกตํางออกไปในบริบทของกฎหมาย

                   ปกครองเนื่องจากกฎหมายปกครองมีวัตถุประสงค์ตรวจสอบการใช๎อํานาจรัฐตลอดจน กฎ คําสั่งทาง
                   ปกครองวํามีความชอบด๎วยกฎหมายหรือไมํ ในขณะที่การเลือกปฏิบัติในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
                   นั้นมุํงคุ๎มครองสิทธิมนุษยชนของกลุํมบุคคลผู๎ถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตํางๆดังที่ระบุไว๎

                   ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ สําหรับในบริบทของรัฐธรรมนูญนั้น จากตัวบทของรัฐธรรมนูญ
                   สะท๎อนหลักการตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ เนื่องจาก “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”
                   นั้นมีความสัมพันธ์กับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  เชํน ตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550
                   กําหนดวําการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมเกี่ยวข๎องกับ ถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ

                   สภาพทางกายหรือสุขภาพ  สถานะของบุคคล  ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม  ความเชื่อทางศาสนา
                   การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง” ซึ่งแตกตํางจาก “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” ตามตัว
   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280