Page 168 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 168

บทที่ ๕ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
                                                                                 ของบุคคล ๖ กลุ่ม



                  กลุ่มที่สี่ กลุ่มเด็กนักเรียนไร้รัฐ และไร้สัญชาติ (เด็กนักเรียนถือบัตรที่ส�ารวจโดยสถานศึกษาในรหัส G รหัส P และในโรงเรียน
            ต�ารวจตระเวนชายแดน) ที่ต้องการจัดการก�าหนดสถานะทางกฎหมาย กลุ่มที่ห้า กลุ่มตกหล่นการส�ารวจ หรือได้รับการส�ารวจ
            ยังไม่มีการจัดท�าทะเบียนและบัตรประจ�าตัวบุคคลตามการส�ารวจกลุ่มบุคคลประเภทที่ ๑ ตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะ
            และสิทธิของบุคคล วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๘) (กลุ่มซึ่งควรเป็นบุคคลประเภทรหัส ๐ กลุ่ม ๘๙) และ กลุ่มที่หก กลุ่มชาติพันธุ์

            และชนเผ่าพื้นเมืองที่ได้รับการแก้ไขปัญหาความไร้รัฐ โดยบันทึกตัวบุคคลในระบบทะเบียนราษฎร ตามมาตรา ๓๘ วรรค ๒
            แห่งพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ (บุคคลประเภทรหัส ๐ กลุ่ม ๐๐) แต่ยังไม่มีการก�าหนดสถานะ
            รวมถึงการจ�าหน่ายสถานะบุคคลแบบเหมารวม เห็นสมควรให้ (๑) น�าโมเดลในการแก้ไขปัญหา หรือการคัดกรอง
            โดยการจัดท�าบันทึกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐ และภาควิชาการในบางพื้นที่ อาทิ การท�า ป.ค. ๑๔ ของกลุ่มคนไทย

            พลัดถิ่นในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระนอง และชุมพร ซึ่งให้บุคลากรสถาบันการศึกษา (คณะอาจารย์ และนักศึกษา)
            ที่สอบปากค�าต้องลงนามรับรองเอกสารดังกล่าวด้วย (อาทิ มหาวิทยาลัยรังสิต และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต้องลงนาม
            รับรองใน ป.ค.๑๔ ด้วย) (๒) กระจายอ�านาจ โดยด�าเนินการควบคู่กับการพัฒนาระบบ และความพร้อมของบุคลากร
            ผู้ปฏิบัติงานในการด�าเนินงานด้านสิทธิและสถานะ การพัฒนาองค์ความรู้  คู่มือการปฏิบัติหน้าที่ เครื่องมืออุปกรณ์

            รวมถึงการปรับแก้กฎหมายที่สอดคล้องและเหมาะสมกัน เพื่อสะสางค�าร้อง ในขณะที่ระบบการจัดการทางทะเบียนภายหลัง
            ปี ๒๕๕๕ น�าระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์มาใช้ แต่ยังเป็นหน้าที่ของส�านักงานเขต หรืออ�าเภอเท่านั้น มิใช่ส�านักทะเบียน
            ท้องถิ่น (เทศบาล/ท้องถิ่น) ซึ่งท�าให้ชาวบ้านไม่สามารถเข้าถึงสิทธิและสถานะ มีข้อติดขัดทางกฎหมาย ทั้งในส่วนที่ก�าหนดให้
                                                                      สภาท้องถิ่นต้องเห็นชอบ และมีมติทั้งการให้

                                                                      และยินดีรับในการปฏิบัติหน้าที่ทางทะเบียนดังกล่าว
                                                                      และการแบ่งเขตอ�านาจในการด�าเนินการตาม
                                                                      กฎหมายทะเบียนราษฎร และ (๓) ในบางกรณี
                                                                      มีความจ�าเป็นต้องใช้การฟ้องร้องด�าเนินคดีเพื่อ

                                                                      ให้เกิดการคุ้มครองผลกระทบ หรือความเสียหาย
                                                                      อันเกิดการออกค�าสั่งทางปกครอง (ในลักษณะ
                                                                      เดียวกับกรณีการจ�าหน่ายรายการบุคคลออกจาก
                                                                      ท.ร. ๑๔ อ�าเภอแม่อาย จ�านวน ๑,๒๔๓ คน ในปี ๒๕๔๕)

                                                                      ก็ควรด�าเนินการโดยการฟ้องร่วมกันเป็นกลุ่ม
            (Class Action) และขอให้พิจารณาเพิกถอนค�าสั่งที่ออกโดยมิชอบ และกระทบกับสิทธิของบุคคล


                                                                                                                  บทที่
                  กลุ่มที่เจ็ด ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมหรือชนพื้นเมืองที่มีวิถีชีวิตการท�ากินตามบรรพบุรุษ เห็นสมควรให้รัฐบาลพิจารณา    ๕
            (๑) ยกระดับการด�าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง อาทิ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓
            (การฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล) และมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ (ฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง) โดยน�าหลักการ และ
            เจตนารมณ์ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยเฉพาะมาตรา ๗๐ และ (๒) พัฒนา
            และรับรองกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมหรือชนพื้นเมือง อาทิ พระราชบัญญัติ

            คุ้มครองเขตพื้นที่วัฒนธรรมพิเศษของชาติพันธุ์และชนพื้นเมือง และพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมือง เป็นต้น
















                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 167
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173