Page 62 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประชาคมอาเซียน
P. 62
พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประชาคมอาเซียน
Human Rights Obligations of the ASEAN Community
รายชื่อปฏิญญาอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (เรียงตามปีที่รับรองโดยที่ประชุมผู้น�าอาเซียน)
ปี ปฏิญญา
๒๕๕๖ ๑๘. ปฏิญญาว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีและเด็กในอาเซียน (Declaration on the
Elimination of Violence Against Women and Elimination of Violence Against
Children in ASEAN)
๑๙. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวันด้านการเป็นผู้ประกอบการและการจ้างแรงงานเยาวชน
(Bandar Seri Begawan Declaration on Youth Entrepreneurship and Employment)
๒๐. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวันด้านโรคไม่ติดต่อในอาเซียน (Bandar Seri Begawan
Declaration on Noncommunicable Diseases in ASEAN)
๒๕๕๘ ๒๑. ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์เกี่ยวกับผู้สูงอายุ (Kuala Lumpur Declaration on Ageing:
Empowering Older Persons in ASEAN)
๒๒. ปฏิญญาเกี่ยวกับความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและวาระการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอาเซียน
หลังปี ๒๐๑๕ (Declaration on ASEAN Post-2015 Environmental Sustainability
and Climate Change Agenda)
๒๓. ปฏิญญาเพื่อเตรียมความพร้อมเชิงโครงสร้างและการปรับตัวของอาเซียนและประชาคม
ที่เกี่ยวข้องและประชาชนต่อภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Declaration on
Institutionalising the Resilience of ASEAN and its Communities and Peoples
to Disasters and Climate Change)
ตารางที่ ๒ ปฏิญญาอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (แยกเป็นประเภทตามตราสาร
สิทธิมนุษยชนหลัก ๙ ฉบับ)
ปฏิญญาอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (ตามด้านของตราสารหลัก ๙ ฉบับ) ปี
๑. ด้านการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ -
๒. ด้านสิทธิการเมืองและพลเมือง -
๓. ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรม (ASEAN Declaration on Cultural Heritage) ๒๕๔๓
ปฏิญญาชะอ�า-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อให้บรรลุการเป็น ๒๕๕๒
ประชาคมอาเซียนที่มีความห่วงใยและแบ่งปัน (Cha-Am Hua-Hin Declaration on
Strengthening Cooperation on Education to Achieve an ASEAN Caring and Sharing
Community)
61
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ