Page 17 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 17
• การตรากฎหมายและปรับแก้พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลย
ในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบียบคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมโดยอาศัยอ�านาจตามพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม
พ.ศ. ๒๕๕๘ ประมวลกฎหมายอาญา และพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๗๙ และการแสดงท่าทีของผู้บริหาร
• การก�าหนดมาตรการที่ชัดเจนในการเคารพ คุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของผู้ต้องหา จ�าเลย และผู้ต้องขัง
อาทิ การไม่น�าตัวผู้ต้องหาออกมาแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน การใช้เครื่องมือการตรวจสอบร่างกาย (body scanner) ส�าหรับ
การตรวจค้นตัวผู้ต้องขังหญิง และค�าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๕๕/๒๕๕๙ ให้พลเรือนที่กระท�าความผิดดังกล่าว
นับแต่วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๙ อยู่ในอ�านาจการพิจารณาของศาลยุติธรรมโดยทั่วไป
ทั้งนี้ สถานการณ์ความเหลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจและสังคมดังกล่าว ท�าให้บุคคลเข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ได้แตกต่างกัน นอกจากนั้น ยังพบว่ากฎหมายหรือค�าสั่งที่ให้อ�านาจและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐในบางลักษณะ
ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิทธิของผู้ต้องหา จ�าเลย และผู้ต้องขัง อาทิ ค�าสั่ง คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ ซึ่งให้อ�านาจเจ้าพนักงานรักษาความสงบ
เรียบร้อยมีอ�านาจเรียกตัวบุคคล เพื่อสอบถามข้อมูลหรือให้ถ้อยค�าที่เป็นประโยชน์ และมีอ�านาจควบคุมตัวได้ไม่เกินเจ็ดวัน
ในทางปฏิบัติพบว่า มีการควบคุมตัวตามค�าสั่งดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งท�าให้เกิดผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อการละเมิด
สิทธิมนุษยชน รวมถึงการใช้เครื่องพันธนาการในลักษณะทั่วไปที่ไม่ปกปิดมิดชิด เป็นเสมือนการประจานผู้ต้องหาหรือจ�าเลย
สิทธิในความเป็นส่วนตัวและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเปลี่ยนแปลงและก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การติดต่อสื่อสารและ
การเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ ด�าเนินการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และอาจส่งผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนได้ อาทิ การน�าข้อมูล
ส่วนบุคคลไปใช้ประมวลผลหรือเปิดเผยหรือไปใช้ประโยชน์ในทางพาณิชย์ โดยปราศจากการได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของข้อมูล
ซึ่งท�าให้เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อบุคคลด้านชื่อเสียง ความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สิน สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล
รวมถึงร่างกายและชีวิต ในขณะที่รัฐบาลได้พยายามจัดท�ากฎหมายกลางคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล
แต่ กสม. ยังพบว่า
• บทบัญญัติบางมาตราของกฎหมายดังกล่าว ยังไม่สามารถคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ในขณะที่
กระบวนการจัดท�ากฎหมายยังคงล่าช้า ตลอดจนขาดการรับรู้และการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสมของภาคส่วนต่าง ๆ
• การเสนอร่างกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐ และมีบทบัญญัติบางประการก�าหนดให้รัฐมีอ�านาจในการเข้าถึงหรือระงับข้อมูลการติดต่อสื่อสารของประชาชน
โดยไม่มีเงื่อนไขที่ชัดเจน อาจจะส่งผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเกินความจ�าเป็น
ดังนั้น การคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคลในประเทศไทยยังขาดความสมดุล และขาดความ
สอดคล้องต่อหลักการสิทธิมนุษยชน กสม. เสนอให้มีการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจต่อผู้ด�าเนินการที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในความ
เป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคลทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน ตลอดจนการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ การสร้างจิตส�านึก
และความตระหนักในสิทธิในความเป็นส่วนตัวของบุคคล เพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
และการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการชุมนุม
กสม. พบว่า สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นยังคงถูกจ�ากัด ตรวจสอบและควบคุมอย่างเข้มงวด
ผ่านการบังคับใช้กฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการแสดงความเห็นในด้านการเมือง การปกครอง ตลอดจน
การชุมนุมสาธารณะ แม้จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะหรือโครงการของรัฐและเอกชนที่มีผลกระทบต่อประชาชน
และชุมชน โดยรัฐใช้กฎหมายในการก�ากับ ควบคุมการใช้เสรีภาพในการแสดงความเห็น ได้แก่
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ 16 ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙