Page 264 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 264
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
5.4 แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนในภาพรวม และความเชื่อมโยงกับแผน
ยุทธศาสตร์ ฯ
5.4.1 แผนกลยุทธ์ในภาพรวม
คณะผู้วิจัยเสนอให้ กสม. ด าเนินกลยุทธ์ทั้งสิ้น 25 กลยุทธ์ โดยมีสาระส าคัญดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1: การให้ค าปรึกษาในการจัดท าแผน NAP
กลยุทธ์ที่ 2: การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
กลยุทธ์ที่ 3: การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่องที่เกิดขึ้นจากภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
(เช่น โครงการขนาดใหญ่ แย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม) การตรวจสอบผล
การด าเนินงานของภาครัฐ (เช่น ภาครัฐมีกลไกการคุ้มครองและเยียวยาในทางปฏิบัติเป็น
อย่างไร) และกลไกการตรวจสอบของภาครัฐ
กลยุทธ์ที่ 4: การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ (เช่น การให้
ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาลและภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไข
ปัญหาข้ามพรมแดน และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)
กลยุทธ์ที่ 5: การสนับสนุนการเชื่อมโยงแผนต่างๆ ของประเทศให้มีประเด็นสิทธิมนุษยชนให้เด่นชัด
มากขึ้น
กลยุทธ์ที่ 6: การให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ (เช่น การให้มีกฎหมาย Anti SLAPP การ
ให้มีการคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนหรือผู้ให้ข้อมูล (whistle blower) และการ
สนับสนุนให้ท า RIA)
กลยุทธ์ที่ 7: การสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้ด้านสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ (CSR เป็น
จุดเริ่มที่ดีแต่ยังไม่เพียงพอ) รวมไปถึงความส าคัญของการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานการ
ผลิตที่เคารพสิทธิมนุษยชน
กลยุทธ์ที่ 8: การผลักดันการเผยแพร่คู่มือ HRDD ในภาคปฏิบัติ
กลยุทธ์ที่ 9: การให้ค าแนะน าทางเทคนิคว่าด้วยการจัดท ารายงานประจ าปี รวมทั้งการส่งเสริมให้บริษัท
จัดตั้งกลไกในการขับเคลื่อนภายในองค์กรเพื่อด าเนินงานตามนโยบายของบริษัท เช่น การ
จัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนมาตรฐานแรงงาน ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจที่ได้มาตรฐานจะ
สะท้อน KPI ของบริษัท และภาพลักษณ์ของประเทศ
กลยุทธ์ที่ 10: การจัดท าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน เพื่อน าไปสู่การถอดบทเรียน
ว่าประเด็นร่วม (common issue) ของธุรกิจแต่ละสาขา และจัดท าข้อเสนอแนะกับ
ภาคเอกชนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี
5-37