Page 53 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 53

๑.๒) สื่อประชาสัมพันธ์องค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่    ประชาสัมพันธ์ แฟ้มกระดาษ วิดีโอประกอบเพลงสิทธิมนุษยชน
          กระเป๋าผ้า ปากกา สมุดบันทึก พัด แผ่นพับ โปสเตอร์เผยแพร่  แผ่นป้ายนิทรรศการและชุดนิทรรศการส่งเสริมความรู้สิทธิมนุษยชน


                  ๑.๓) สื่อทางไกล
                       (๑) การผลิตรายการวิทยุออกอากาศทางสถานี              (๒) การผลิตภาพยนตร์สารคดีส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
          วิทยุกระจายเสียงต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ความรู้ ข่าวสาร และสถานการณ์  เรื่อง “๓ เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน” โดยมีแนวคิดหลักในการน�าเสนอ
          สิทธิมนุษยชนให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในวงกว้าง ได้แก่ รายการวิทยุ   เกี่ยวกับเรื่องราวและการต่อสู้เพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชน เพื่อเสนอฉาย
          กระจายเสียง “เพื่อสิทธิมนุษยชน” เผยแพร่ทางสถานีวิทยุกระจาย   ในวันสิทธิมนุษยชนสากล วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ ณ โรงภาพยนตร์
          เสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ และเครือข่ายทั่วประเทศ    เอส เอฟ เวิลด์ ซีเนม่า ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ และเผยแพร่
          รายการวิทยุกระจายเสียง “ส�านึกของสังคม ช่วงเพื่อสิทธิมนุษยชน”    ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ในเดือนเมษายน ๒๕๕๙
          เผยแพร่ทางสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายการวิทยุ
          กระจายเสียง รายการ “คุยกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ”
          เผยแพร่ทางสถานีวิทยุรัฐสภา



                   ๑.๔) การจัดนิทรรศการ
                       กสม.  ได้จัดแสดงนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ จัดร่วมกับส�านักงานผู้ตรวจการแผ่นดินในการจัดงานผู้ตรวจการ
          ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในโอกาสและสถานที่ แผ่นดินสัญจรพบประชาชนในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ที่จังหวัด
          ต่าง ๆ รวมทั้งมีการประสานความร่วมมือในการจัดนิทรรศการ สุรินทร์และสุราษฎร์ธานี วันสตรีสากล ณ อาคารอิมแพ็ค ฟอรั่ม
          สัญจรร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่ายต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น  ศูนย์แสดงสินค้าและประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี
          จัดร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ และการสัมมนาเรื่อง แนวปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความ
          ทุจริตในภาครัฐ ในการสัมมนาขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย  ยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ โรงแรม
          การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ (๒๕๕๖ – ๒๕๖๐)   สุโกศล กรุงเทพ ฯ เป็นต้น





                 ๒) การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูล สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนและกิจกรรมตามภารกิจของคณะกรรมการ
           สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผ่านสื่อมวลชน

                  ๒.๑) จัดท�าแถลงการณ์เผยแพร่ผ่านสื่อมวลชน มีการจัด    ๒.๒)  จัดท�าข่าวแจกสื่อมวลชน  (Press  Release)
           ท�าแถลงการณ์ กสม. เพื่อแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และ  จ�านวน ๑๖ กรณี  เช่น กสม. ขอชื่นชมและสนับสนุนคณะกรรมาธิการ
           ข้อห่วงกังวลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สุ่มเสี่ยงหรือมีการละเมิด   ยกร่างรัฐธรรมนูญ กรณีบัญญัติค�าว่า เพศสภาพไว้ในหมวดสิทธิและ
           สิทธิมนุษยชน เพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  เสรีภาพ การยกร่างรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการ
           และสาธารณชน จ�านวน ๑๑ เรื่อง เช่น เรื่องการห้ามเจ้าหน้าที่ผู้หญิง   สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  กสม. สนับสนุนการแก้ไขกฎหมายเพื่อก�าหนด
           ตั้งครรภ์ถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และขอชื่นชมกระทรวง  โทษทางอาญาส�าหรับผู้ครอบครองสื่อลามกอนาจารเด็ก และความเห็น
           แรงงานในการให้ข้อมูลต่อสาธารณชน เรื่องสิทธิเด็กอันเกี่ยวเนื่อง  ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อร่างพระราชบัญญัติ
           กับความเสมอภาคทางการศึกษา กรณีคัดค้านนโยบายยุบควบรวม  การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... เป็นต้น
           โรงเรียนขนาดเล็ก เรื่องข้อเรียกร้องยุติการกระท�าความรุนแรงต่อ
           ผู้หญิงและเด็กหญิงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเรื่องการยกร่าง
           รัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบรวมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
           แห่งชาติกับผู้ตรวจการแผ่นดิน เป็นต้น












                                    รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  52  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58