Page 47 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 47

๓.๓ การเสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ   มีอ�านาจหน้าที่ครบถ้วนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราช
           ศาลปกครองและฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย     อาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ไขเพิ่มเติม
                                                              ให้มีอ�านาจหน้าที่เกี่ยวกับการพิจารณาค�าร้องที่ผู้ร้องขอให้ กสม. เสนอ
                    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐   เรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง หรือศาล
           บัญญัติให้ กสม. มีอ�านาจหน้าที่ตามมาตรา ๒๕๗ วรรคหนึ่ง (๒)   ยุติธรรม ยังอยู่ระหว่างกระบวนการทางนิติบัญญัติ
           เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็น
           ชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกระทบต่อ     ดังนั้น การสิ้นสุดลงของรัฐธรรมนูญตามประกาศคณะ
           สิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ   รักษาความสงบแห่งชาติจึงมีผลให้ กสม. ไม่มีอ�านาจหน้าที่โดยตรง
           ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา  ในการเสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาลในเรื่องที่ประชาชนมีค�าร้อง
           ของศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๕๗ วรรคหนึ่ง (๓) เสนอเรื่อง  ขอให้เสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาลได้อีกต่อไป แต่ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์
           พร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครองในกรณีที่เห็นชอบตามที่มี   ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้ร้องในค�าร้องด้านคดี
           ผู้ร้องเรียนว่า กฎ ค�าสั่ง หรือการกระท�าอื่นใดในทางปกครองกระทบ  สิทธิมนุษยชน กสม. จึงได้มีค�าสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านคดี
           ต่อสิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือ   สิทธิมนุษยชนและมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยให้
           กฎหมาย ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา  คณะอนุกรรมการยังคงมีอ�านาจหน้าที่ในการพิจารณาค�าร้องด้าน
           คดีปกครอง และมาตรา ๒๕๗ วรรคหนึ่ง (๔) ฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม  คดีสิทธิมนุษยชนเพื่อจัดทข้อเสนอแนะเชิงนโยบายไปยังบุคคลและหน่วยงาน
           แทนผู้เสียหายเมื่อได้รับการร้องขอจากผู้เสียหายและเป็นกรณีที่  ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน แต่หากค�าร้องใด
           เห็นสมควร เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม   สมควรน�าไปสู่การเสนอเรื่องและฟ้องคดีต่อศาลจะพิจารณามอบ
           ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ                        หมายให้ส�านักงาน กสม. จัดพนักงานคดีช่วยเหลือการจัดท�าค�าฟ้อง
                                                              และเอกสารเกี่ยวกับคดี เพื่อให้ผู้ร้องยื่นฟ้องหรือด�าเนินคดีในนามของ
                    ในระหว่างที่ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการ   ผู้ร้องโดยตรงต่อไป รวมทั้งให้คณะอนุกรรมการฯ มีอ�านาจหน้าที่
           สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. .... ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมจากพระราชบัญญัติ  ตรวจสอบค�าร้องที่ขอให้ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด้วย
           คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพื่อให้ กสม.
           มีอ�านาจหน้าที่เกี่ยวกับการเสนอเรื่องและฟ้องคดีต่อศาล เป็นไปตาม     ด้วยเหตุที่กล่าวมาข้างต้น ผลการด�าเนินงานของ กสม.
           รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๗   ด้านการพิจารณาค�าร้องที่ขอให้เสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาล ในปี
           วรรคหนึ่ง (๒) (๓) และ (๔) อยู่ระหว่างกระบวนการทางนิติบัญญัติ    ประมาณ ๒๕๕๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘) จึงไม่มี
           กสม. ได้ออกระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอเรื่องต่อศาล  ค�าร้องใดที่น�าไปสู่การเสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาล ผลการพิจารณา
           รัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองหรือฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๔    ค�าร้องส่วนใหญ่จึงเป็นการยุติเรื่อง ยกเว้นบางค�าร้องที่ กสม. มีมติ
           เพื่อรองรับการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัติดังกล่าวของรัฐธรรมนูญ   ให้เสนอแนะนโยบายต่อคณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ
           และเพื่อให้การปฏิบัติตามอ�านาจหน้าที่ดังกล่าวเป็นไปโดยเรียบร้อย  ประโยชน์ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีรายละเอียด
           และมีประสิทธิภาพ กสม. ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านคดี   ของผลการพิจารณาค�าร้องที่ขอให้เสนอเรื่องหรือฟ้องคดีต่อศาล ตาม
           สิทธิมนุษยชน เพื่อพิจารณาเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาล  ตารางที่ ๗
           ปกครองหรือฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม เพื่อท�าหน้าที่กลั่นกรองและ
           เสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนที่ขอให้ กสม. เสนอเรื่องหรือ
           ฟ้องคดีต่อศาล


                    ต่อมา คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้มีประกาศ
           ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เรื่อง การสิ้นสุดของ
           รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
           ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง ยกเว้น หมวด ๒ โดยให้องค์กรอิสระ
           และองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๕๐ ยังคงปฏิบัติหน้าที่
           ต่อไป ดังนั้น กสม. ซึ่งเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
           ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๖ จึงยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไปตาม
           ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบับดังกล่าว โดยการปฏิบัติ
           หน้าที่ย่อมเป็นไปตามที่พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
           แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ก�าหนดไว้ แต่เนื่องจากร่างพระราชบัญญัติ
           คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ....  ที่ปรับปรุงแก้ไขให้ กสม.


                                    รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  46  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52