Page 44 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 44
อย่างไรก็ตาม มีหลายประเด็นที่บทบัญญัติใน
พระราชบัญญัติดังกล่าวไม่สอดคล้องกับข้อเสนอแนะฯ ของ
คณะกรรมการฯ และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง หรือไม่สอดคล้องเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัตินี้เอง
เช่น เงื่อนไขการแจ้งการชุมนุมล่วงหน้าเจ้าพนักงานออกค�าสั่งให้เลิก
การชุมนุมได้ การให้ดุลพินิจแก่รัฐมนตรีในการประกาศสถานที่ห้าม
การชุมนุมฯ กีดขวางทางเข้าออก หรือรบกวนการปฏิบัติงานเพิ่มเติม
เจ้าพนักงานมีอ�านาจจับ ค้น ยึด อายัด รื้อถอนทรัพย์สิน โดยไม่
ต้องผ่านการวินิจฉัยตามกระบวนการยุติธรรมทางศาล เป็นต้น
เรื่องที่ ๒ นโยบายรัฐบาล เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่
ทั่วถึงทุกคน
กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนว่า รัฐบาลร่วมกับส�านักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ประกาศนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ประชาชนสามารถเข้าโรงพยาบาลใดก็ได้โดยไม่ต้องถามสิทธิ ไม่ต้อง
ส�ารองจ่าย โดย สปสช. เป็นผู้จ่ายให้ทั้งหมด แต่ทางปฏิบัติประชาชน
ต้องส�ารองจ่ายไปก่อนและไม่สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลเต็มจ�านวน
ที่จ่ายไป ซึ่ง สปสช. ได้ก�าหนดแนวทางเข้ารับการรักษากรณีเจ็บป่วย
ฉุกเฉิน (Emergency Claim Online : EMCO) โดยให้แนวทางวินิจฉัย เหมาะสมได้ซึ่งโรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลทางเลือกและโรงพยาบาล
เช่น มีข้อบ่งชี้ว่าเป็นโรคหรืออาการของโรคที่มีลักษณะรุนแรงอาจเป็น ของรัฐมีต้นทุนเรียกเก็บค่าบริการดังกล่าวแตกต่างกันมาก
อันตรายต่อชีวิตหรือต่อผู้อื่น มีลักษณะรุนแรงต้องรักษาเร่งด่วนและ รวมทั้งนโยบายดังกล่าวไม่มีการตั้งงบประมาณเพิ่มเติม เพื่อรองรับ
โรคที่ต้องผ่าตัดด่วน หากปล่อยไว้จะเป็นอันตรายต่อชีวิต และก�าหนด นโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉิน
แนวทาง การใช้สิทธิกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินและกรณีประสบอุบัติเหตุ กสม. จึงเสนอรายงานผลการพิจารณาเสนอแนะนโยบาย
ทั่วไปว่าให้เข้ารับบริการจากหน่วยบริการของรัฐหรือเอกชนที่เข้าร่วม หรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย เรื่อง นโยบายรัฐบาล เจ็บป่วย
โครงการ และแนวทางการส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลที่ผู้นั้นมีสิทธิ ฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน เสนอต่อรัฐสภาคณะรัฐมนตรี กระทรวง
อย่างไรก็ตาม มีปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น ประชาชน ผู้ป่วย บุคลากร สาธารณสุข กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) กระทรวงพาณิชย์
ทางการแพทย์เข้าใจและตีความค�าว่า “เจ็บป่วยฉุกเฉิน” แตกต่างกัน กระทรวงแรงงาน (ส�านักงานประกันสังคม) ส�านักนายกรัฐมนตรี
และไม่มีการนิยามค�าว่า “พ้นวิกฤต” ให้ชัดเจน รวมทั้งประชาชน (ส�านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) ส�านักงบประมาณ
ผู้ป่วย โรงพยาบาลที่ไม่ใช่คู่สัญญาระบบบริการสาธารณสุขไม่ทราบ ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับ
ระบบการแจ้งสิทธิและระบบอนุมัติให้เข้ารับบริการรักษาพยาบาลกรณี และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย สรุปได้ ดังนี้
เจ็บป่วยฉุกเฉิน นอกจากนี้ ไม่สามารถหาต้นทุนการรักษาพยาบาลที่ บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อเสนอแนะนโยบาย
๑) ควรศึกษา วิเคราะห์ ประเมินผลข้อดี ข้อท้าทายในการน�านโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินไปปฏิบัติ รวมถึงจ�านวนงบประมาณรองรับ
๒) ควรประชาสัมพันธ์นโยบายฯ แก่ประชาชนและผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินเพื่อให้ทราบหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีการให้ค�าปรึกษาแก่ผู้เจ็บป่วย
ฉุกเฉินยี่สิบสี่ชั่วโมง
๓) จัดระบบการน�านโยบายฯ ไปปฏิบัติโดยไม่เป็นภาระแก่โรงพยาบาลเอกชนและโรงพยาบาลที่ไม่ใช่คู่สัญญา
๔) มีแนวทางป้องกันและแก้ปัญหากรณีโรงพยาบาลที่ให้การรักษาไม่แจ้งสิทธิเรื่องนี้ หรือให้ผู้ป่วยหรือญาติลงนามในสัญญาผูกพัน
จ่ายค่ารักษา
๕) มีมาตรการและจัดสรรเงินกองทุนรองรับการปฏิบัติตามนโยบายฯ ก�าหนดวิธีเบิกจ่ายค่ารักษาแก่ผู้ป่วยหรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
ทางถนน
๖) ก�าหนดมาตรการควบคุมอัตราค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชน และโรงพยาบาลทางเลือกหรือเรียกเก็บค่าบริการ
(Fee-for-Service Hospital)
๗) มีมาตรการช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายจากการถูกโรงพยาบาลฟ้องคดี เช่น ให้ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมเป็นคู่
กรณี หรือชดเชยค่ารักษาที่ผู้เสียหายจ่ายไปแล้ว มีมาตรการจูงใจแก่โรงพยาบาลเอกชนเพื่อให้ความร่วมมือ เช่น ลดหย่อนภาษี
ก�าหนดเพดานค่ารักษา เป็นต้น
รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 43 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ