Page 45 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 45
ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
ควรแก้ไขพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑
มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง โดยให้สถานพยาบาลแจ้งสิทธิการรักษากรณี
เจ็บป่วยฉุกเฉินแก่ผู้ป่วยหรือญาติ และให้เบิกจ่ายค่ารักษาจาก
ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และแก้ไขกฎกระทรวงก�าหนด
ความเสียหายที่จะให้ได้รับค่าเสียหายเบื้องต้น จ�านวนเงินค่าเสียหาย
เบื้องต้น การร้องขอรับและการจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น พ.ศ. ๒๕๕๒
ข้อ ๓ จากเดิมเป็นจ�านวนเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินสามหมื่นบาท ส�าหรับ
ความเสียหายต่อร่างกายตามข้อ ๒ (๑) โดยตัดค�าว่าแต่ไม่เกินสามหมื่น
บาทออก
ผลการด�าเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๘
รับทราบรายงานผลการพิจารณาฯ ของ กสม. และผลการ
ด�าเนินการตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ กล่าวคือ นโยบาย แก้ปัญหาของประชาชนในเรื่องนี้ ส่วนมาตรการควบคุมอัตรา
เจ็บป่วยฉุกเฉินมีส่วนช่วยให้ประชาชนสามารถรับบริการฉุกเฉินทาง ค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชน ปัจจุบันด�าเนินการโดยใช้
การแพทย์เพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ อัตราการจ่ายค่าชดเชย พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และประกาศกระทรวง เรื่อง
แก่โรงพยาบาล เกณฑ์วินิจฉัยกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉินและ มาตรฐานการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินของสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๗
พ้นภาวะฉุกเฉิน การประชาสัมพันธ์แก่ผู้ให้บริการและประชาชน ระบบ รวมทั้งได้เสนอไปยังกรมการค้าภายในเพื่อก�าหนดให้ค่าบริการ
ส�ารองเตียงและส่งต่อผู้ป่วยที่พ้นภาวะฉุกเฉิน ควรให้สถาบันการแพทย์ การแพทย์ฉุกเฉินเป็นสินค้าควบคุม กระทรวงพาณิชย์ ตามหนังสือ
ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) เป็นหน่วยดูแลระบบการแพทย์ฉุกเฉิน แนวทาง ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๘ แจ้งว่า การก�าหนดเป็นสินค้าหรือบริการ
ที่จะด�าเนินการต่อไป คือ จัดให้มีกลไกท�าหน้าที่บริหารจัดการระบบ ควบคุมจะต้องเสนอคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
ตรวจสอบระบบการเบิกจ่ายค่าบริการ และรับอุทธรณ์เรื่องร้องเรียน (กกร.) ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. ๒๕๔๒
เรื่องที่ ๓ เสรีภาพในการถือศาสนา เสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนธรรม ศาสนบัญญัติ และการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม
กรณีการห้ามสตรีที่นับถือศาสนาอิสลามสวมฮิญาบ
กสม. ได้มีมติเห็นควรให้มีการตรวจสอบ ค�าร้องที่ เห็นว่าเป็นการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งการนับถือศาสนา
๑๙๕/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔ กรณีโรงเรียนมัธยม กสม. จึงเสนอรายงานผลการพิจารณาเสนอแนะนโยบาย
วัดหนองจอก ห้ามนักเรียนหญิงมุสลิมแต่งกายตามหลักศาสนา หรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย เรื่อง เสรีภาพในการถือศาสนา
อิสลาม (สวมฮิญาบ) อ้างว่าผิดระเบียบโรงเรียนเพราะบริเวณที่ตั้ง เสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนธรรม ศาสนบัญญัติ และการเลือก
โรงเรียนเป็นที่ธรณีสงฆ์ และมีผู้ร้องได้ร้องเรียนต่อ กสม. เป็น ปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม กรณีการห้ามสตรีที่นับถือศาสนาอิสลามสวม
ค�าร้องที่ ๒๒๕/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ขอให้มี ฮิญาบ เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวง
การเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายด้าน สาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย (กรมส่งเสริม
สิทธิและเสรีภาพในการนับถือศาสนา และการเลือกปฏิบัติที่ไม่ การปกครองท้องถิ่น) กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง
เป็นธรรม กรณีการห้ามสตรีที่นับถือศาสนาอิสลามสวมฮิญาบ พาณิชย์ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
เนื่องจากบุตรสาวของผู้ร้องได้สมัครเข้าท�างานบริษัทเอกชน และ สภาการพยาบาล สรุปได้ ดังนี้
บริษัทดังกล่าวมีกฎห้ามบุคคลสวมฮิญาบเวลาท�างาน ซึ่งผู้ร้อง
รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 44 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ