Page 49 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 49

๓.๔ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน


                 ภารกิจด้านการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนถือว่าเป็นภารกิจ  ราชอาณาจักรไทย และตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทย
           ส�าคัญประการหนึ่งของ กสม. โดยก�าหนดเป็นยุทธศาสตร์เชิงรุก เน้น   เป็นภาคีสนธิสัญญา เพื่อให้ทุกคนในสังคมเห็นคุณค่าของศักดิ์ศรีความ
           กระบวนการด�าเนินงานด้านการป้องกัน เพื่อน�าไปสู่การลดปัญหา   เป็นมนุษย์ และที่ส�าคัญคือ การอยู่ร่วมกันในสังคมที่ปกติสุข ช่วยเหลือ
           การละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นการส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ความรู้ให้   เกื้อกูล มีน�้าใจ แบ่งปัน เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน ซึ่งจะส่งผลท�าให้
           ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ สร้างจิตส�านึก และปลูกฝังให้เห็น   สิทธิมนุษยชนเป็นวิถีชีวิตของทุกคนในสังคม โดยในปีงบประมาณ
           คุณค่าของสิทธิมนุษยชน อันพึงได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่ง   พ.ศ. ๒๕๕๘ กสม. ได้ด�าเนินส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ดังนี้




                   ๓.๔.๑ ผลการด�าเนินงานด้านการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักในการเคารพสิทธิมนุษยชน

                    กสม. ด�าเนินการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านสิทธิมนุษยชนให้กับกลุ่มเป้าหมาย ทั้งในองค์กร
           ภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรเครือข่าย และองค์กรชุมชน โดยจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้







































                    ๑) การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การป้องกันการ   ปฏิบัติงานในเรือนจ�า และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้าน
           ทรมาน และการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม   กระบวนการยุติธรรม การด�าเนินกิจกรรมดังกล่าวท�าให้เจ้าหน้าที่ของ
           หรือย�่ายีศักดิ์ศรี ในประเทศไทย” ในพื้นที่ต�ารวจภูธร จ�านวน ๘ ภาค    รัฐมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องแนวคิดสิทธิมนุษยชน และอนุสัญญา
           เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมเกิดความตระหนักถึง   ต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย
           ปัญหาและผลกระทบอันเนื่องมาจากการซ้อมทรมาน รวมทั้งเกิดการ  ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture
           ปรับเปลี่ยนทัศนคติ เจตคติ และพฤติกรรมการปฏิบัติงานในฐานะ   and Other Cruel Inhuman or Degrading Treatment or
           เป็นเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งต้องปฏิบัติหน้าที่เพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ   Punishment :CAT) ตลอดจนเกิดจิตส�านึกและความตระหนักถึง
           ประชาชน โดยไม่กระท�าการใด ๆ ที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดย   ปัญหาและผลกระทบอันเนื่องมาจากการซ้อมทรมาน ส่งผลให้เกิด
           มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเจ้าหน้าที่ต�ารวจชั้นสัญญาบัตร เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์   การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และพฤติกรรมการปฏิบัติงาน โดยเน้น
                                                              ให้ความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเป็นหลัก



                                    รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘ 48  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54