Page 34 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 34
33
๙.๓ สรุปสาระส าคัญจากการอภิปราย
รศ.ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช อนุกรรมการด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ผู้ด าเนินรายการ เริ่มการอภิปราย
การจัดโครงสัมมนาครั้งนี้เป็นโครงการน าร่อง (Pilot project) ที่เริ่มจากภาคธุรกิจ
การท่องเที่ยวและการโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต หากประสบความส าเร็จจะท าให้เกิดผลบวกอย่างมหาศาลต่อ
ทุกภาคส่วน จากข้อมูลต่างๆที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาให้มาในวันนี้จะเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในระบบธุรกิจต้อง
ปรับตัวใหม่และมีการปรับทัศนคติใหม่เพื่อให้ได้รับการยอมรับ ซึ่งหลักการ UNGP ถือเป็นหลักการใหม่
ชองการด าเนินธุรกิจในการน าเครื่องมือที่สหประชาชาติสร้างมาให้ได้ประโยชน์อย่างสูงสุด ในการนี้ ขอน าเข้าสู่
การอภิปรายช่วงที่ ๒ เรื่อง “แนวทางในการน าหลักการชี้แนะขององค์การสหประชาชาติมาใช้กับธุรกิจการ
ท่องเที่ยวและการโรงแรม ในจังหวัดภูเก็ตและการท่องเที่ยวแถบอันดามัน” โดยเริ่มการอภิปรายจาก นางสาว
อโนมา วงษ์ใหญ่ ผู้อ านวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส านักงานภูเก็ต
นางสาวอโนมา วงษ์ใหญ่ ผู้อ านวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
ส านักงานภูเก็ต อภิปรายว่า
ไม่ใช่แค่ภาคธุรกิจเพียงอย่างเดียวที่ต้องเคารพสิทธิมนุษยชน แต่รวมถึงภาครัฐด้วย
ซึ่งทางภาครัฐมีหน่วยงานประเมินที่มีการก าหนดว่าหน่วยงานก็ต้องมีข้อบังคับการก ากับที่ดีในการท างานและ
มีการก าหนดไว้เป็นแผนแม่บทด้วย ในส่วนของ ททท.ได้มีการจัดท าแผนก ากับกิจการที่ดี ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ -
๒๕๖๔ โดยก าหนดเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และมีมาตรฐานต่างๆที่ต้องสนับสนุนภาค
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องให้ท าถูกต้องตามสิทธิมนุษยชนด้วย การก าหนดเรื่องการสนับสนุนชุมชน เช่น การน า
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพคนพิการมาบังคับใช้กับ ททท. การก าหนดให้มีการจ้างคนพิการ
และการซื้อสินค้าที่คนพิการผลิต และต้องรายงานการท างานตามแผนก ากับกิจการที่ดีฯต่อกระทรวงทรัพยากร
และความมั่นคงของมนุษย์ด้วย
หนึ่งในแผนก ากับกิจการที่ดี เกี่ยวกับด้านการตลาดได้ก าหนดกลยุทธ์ว่าต้องสร้างความ
เข้มแข็งให้สังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น กลยุทธ์ที่ก าหนดว่าต้องให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวของครัวเรือนที่มี
รายได้ต่ ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาทร้อยละ ๑ ของครัวเรือน จึงถือว่ามีตัวชี้วัดต่างๆที่ก าหนดให้ ททท.ด าเนินการให้
เกิดสิทธิที่เท่ากัน ในการท่องเที่ยวทั่วประเทศ
บทบาทของ ททท. ไม่ใช่หน่วยงานที่ควบคุมการท าผิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนโดยตรง แต่
เป็นฝ่ายที่สนับสนุนต่อธุรกิจที่ท าถูกต้องตามมาตรฐานและแนะน าลูกค้าให้กับธุรกิจที่ถูกต้อง โดยมีแนวทางใน
การส่งเสริมภาคธุรกิจที่ท าถูกต้องตามสิทธิมนุษยชนและได้มาตรฐานของกระทรวงการท่องเที่ยว เช่น การมอบ
รางวัลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ดร.วงษ์ภูมิ วนาสิน ประธานกรรมการเครือข่ายโรงแรมพินนาเคิล สมาชิก UNGC
ประเทศไทย อภิปรายว่า
น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559