Page 39 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 39

38



               สิทธิมนุษยชนคือสิ่งที่เกิดมาและจากไปพร้อมกับตัวเรา โดยไม่สามารถสละให้แก่ใครได้และรัฐมีหน้าที่ต้องออก
               กฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หากรัฐไม่ออกกฎหมายคุ้มครอง ก็มี กสม. ที่ได้น าหลักการของกติกา

               ระหว่างประเทศมาปรับใช้ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นคนละบทบาทกัน ดังนั้น หากท่านมีเรื่อง
               ปรึกษาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน กสม.ก็พร้อมให้ค าปรึกษาตลอดเวลา
                                     โครงการสัมมนาฯ ในครั้งนี้ เป็นโครงการน าร่อง ในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ซึ่งหลักการ

               UNGP มีลักษณะเป็น soft law เป็นหลัก เพื่อให้ภาคธุรกิจเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ และเมื่อภาคธุรกิจ
               น ามาใช้แล้วต้องมีแผนการปฏิบัติตามหลักการ UNGP โดยบางเรื่องเป็นเรื่องที่ทางภาคธุรกิจท่องเที่ยวและ

               โรงแรมด าเนินการอยู่แล้ว จากหลักการนี้ ต้องได้ความร่วมมือจากทั้งสองฝ่าย ทั้งฝ่ายธุรกิจและภาครัฐ เพราะ
               ไทยได้ให้ค ามั่นว่า เราจะท าแผนการปฏิบัติการชาติ โดยสวีเดนก็ได้เสนอเพิ่มเติมว่า ให้ไทยท าปฏิบัติการชาติ

               เรื่องธุรกิจกับสิทธิฯด้วย
                                     เหตุเกิดจากมีเรื่องร้องเรียน กับ กสม. ว่ามีธุรกิจไทยที่ท ากับต่างประเทศไปละเมิดสิทธิ

               มนุษยชน กสม.จึงได้จัดข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีรับในหลักการแล้วว่าต้องให้ภาคธุรกิจ
               ที่ข้ามชาติ ต้องค านึงถึงหลักการ UNGP และก าหนดให้กระทรวงต่างประเทศและกระทรวงพาณิชด าเนินการ
               ต่อไปโดยรัฐบาลจะท าแผนปฏิบัติการชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) ซึ่งแผนดังกล่าวเป็นแผนที่ไม่ได้

               มีการบังคับแต่เป็นการบอกแก่ภาคธุรกิจว่า ความเสี่ยงของธุรกิจจะได้รับผลกระทบเป็นอย่างไรแล้วท าอย่างไร
               ที่จะไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งเรื่องดังกล่าวอาจจะไม่ใช่บทบาทของ กสม. โดยตรง แต่ด้วย กสม. เห็น

               ความส าคัญและเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจของประเทศไทย เนื่องจากหลายธุรกิจอาจจะละเมิดสิทธิมนุษยชนโดย
               ความไม่รู้
                                สาเหตุที่เลือกธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรม เพราะถือว่าเป็นธุรกิจที่มีรายได้เป็นอันดับ

               สองของรายได้ประเทศ เพราะฉะนั้นหากมีการน าหลักการUNGP มาบอกแก่ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมใน

               จังหวัดภูเก็ต แล้วส่งสัญญาณว่า มีการจัดเพื่อให้ความรู้และให้สมัครใจเข้าร่วมน าหลักการนี้ไปใช้แล้ว
               หากธุรกิจใดสนใจก็จะมี กสม. ให้การช่วยเหลือชี้แนะ และทาง กสม.มีการวางแผนที่จะจัดท าคู่มือประเมิน
               ความเสี่ยงของธุรกิจ ว่ามีเรื่องใดบ้างที่ธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรมต้องระวัง ดังนั้น หากน าหลักการนี้

               มาใช้ในภาคธุรกิจของจังหวัดภูเก็ตแล้ว ก็จะเป็นผลบวกให้กับธุรกิจ และจากการที่ประเทศไทยของเรามี
               ทรัพยากรมากมาย สิ่งเหล่านี้สามารถเป็นจุดขายได้ทั่วโลก หากเราถนอมธุรกิจให้อยู่บนหลักการที่สมบูรณ์

               อย่างที่ดร.วงษ์ภูมิ วนาสิน  ประธานกรรมการเครือข่ายโรงแรมพินนาเคิล สมาชิก UNGC ประเทศไทย
               ผู้อภิปราย ได้ให้ใช้หลักธรรมาภิบาล (CSR) เพราะธุรกิจขายความน่าเชื่อถือ ปัจจุบันเวทีโลกมองว่า แค่ CSR
               คงไม่พอ เขาหวังว่าธุรกิจจะท ามากกว่า CSR โดยหวังว่าธุรกิจจะดูแลบุคลากรของตนให้ดีที่สุดอีกด้วย ซึ่งการ

               เปิดเวทีในวันนี้ มีจุดประสงเพื่อให้ความรู้ไม่ว่าจะเป็นภาคธุรกิจหรือภาครัฐ แต่นอกเหนือจากการให้ความรู้ก็
               คือการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน จึงได้เชิญทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ

                                   ตามหลักการ UNGP นั้น รัฐมีหน้าที่ต้องคุ้มครอง ภาคธุรกิจมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ
               มนุษยชน แต่ที่ส าคัญคือเสาหลักที่สามในเรื่องหลักการเยียวยา โดยที่ทั้งภาคธุรกิจและภาครัฐต้องช่วยกัน

               เยียวยาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยมีการท าเป็นแผนหรือนโยบายที่เป็นหลักเป็นฐาน  ซึ่งจากที่ผู้อภิปราย
               ได้กล่าวไว้ อุตสาหกรรมการเที่ยวเที่ยวและโรงแรมนั้นเป็นธุรกิจที่ผิดเวลา ท าให้ผู้ที่ท าธุรกิจโรงแรมต้องบริการ

               อย่างเต็มที่ ไม่ว่าเวลาใดก็ตาม ปัญหาเรื่องความพึงพอใจจึงสามารถเกิดขึ้นได้มากมาย และสิ่งเหล่านี้ก็สามารถ
               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44