Page 14 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 14
13
จำกสภำวกำรณ์เช่นนี้ ท ำให้ในปัจจุบันโลกก ำลังให้ควำมส ำคัญกับบทบำทของภำคธุรกิจในกำร
เคำรพสิทธิมนุษยชนมำกยิ่งขึ้น โดยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ (ค.ศ. ๒๐๑๑) ประเทศสมำชิกสหประชำชำติ ได้ให้กำร
รับรองเอกสำรหลักกำรแห่งสหประชำชำติด้ำนธุรกิจและสิทธิมนุษยชน : กำรปฏิบัติตำมกรอบกำรคุ้มครอง
เคำรพ เยียวยำ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights : Implementing
the Protect, Respect, Remedy Framework (UNGPs) ซึ่งมีเสำหลัก ๓ ประกำรเป็นพื้นฐำนส ำคัญ ได้แก่
(๑) ให้รัฐมีหน้าที่ในการ “คุ้มครอง” ประชาชน (State Duty to Protect) จำกกำรถูก
ละเมิดสิทธิมนุษยชนที่กระท ำโดยบุคคลรวมทั้งองค์กรภำคธุรกิจจำกกำรมีนโยบำย
ควบคุมที่เหมำะสม
(๒) ให้ภาคธุรกิจ “เคารพ” ในหลักสิทธิมนุษยชน (Corporate Responsibility to
Respect) ไม่ว่ำจะเป็นธุรกิจระดับใดก็ตำม ต้องค ำนึงถึงผลกระทบในทำงลบที่จะ
ตำมมำในกำรด ำเนินกิจกำร และควรที่จะใช้ควำมระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงกำรละเมิด
สิทธิของผู้อื่น
(๓) การเข้าถึง “การเยียวยา” (Access to Effective Remedy) ผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิ
มนุษยชนต้องเข้ำถึงกำรเยียวยำที่มีประสิทธิผลมำกยิ่งขึ้น ไม่ว่ำเป็นกำรเยียวยำในทำง
ศำลหรือไม่ใช่ในทำงศำลก็ตำม
เป็นที่น่ำยินดีว่ำ ในช่วงที่ผ่ำนมำไม่นำนนี้ ภำครัฐได้ปรับตัวในประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
อย่ำงส ำคัญ โดยจะเห็นได้จำกกำรที่ปลัดกระทรวงยุติธรรม ในฐำนะหัวหน้ำคณะผู้แทนรัฐบำลไทย ได้มีค ำ
กล่ำวในโอกำสน ำเสนอรำยงำนกำรทบทวนสถำนกำรณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยภำยใต้กระบวนกำร
Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ ๒ ต่อที่ประชุมคณะท ำงำน UPR สมัยที่ ๒๕ ซึ่งเป็นกลไกภำยใต้
คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชำชำติ (Human Rights Council) ณ นครเจนีวำ ประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภำคม ๒๕๕๙ ว่ำประเทศไทยก ำลังจะจัดท ำแผนปฏิบัติกำรแห่งชำติว่ำด้วย
ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Action Plan: NAP) ซึ่งเป็นสิ่งที่หลำยฝ่ำยเห็นพ้องว่ำจะเป็นกลไกส ำคัญใน
กำรขับเคลื่อนกำรน ำหลักกำร UNGPs มำใช้ในประเทศ นอกจำกนี้ เมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภำคม ๒๕๕๙
คณะรัฐมนตรีได้มีมติมอบหมำยให้กระทรวงกำรต่ำงประเทศและกระทรวงพำณิชย์เป็นหน่วยงำนหลักพิจำรณำ
ตำมที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ (กสม.) ได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยไปยังรัฐบำล ให้น ำหลักกำร
UNGPs มำเป็นกรอบในกำรด ำเนินงำนในกรณีกำรด ำเนินโครงกำรท่ำเรือน้ ำลึกและเขตเศรษฐกิจทวำยใน
สำธำรณรัฐแห่งสหภำพเมียนมำร์ เพื่อให้มีกลไกและก ำหนดภำรกิจในกำรก ำกับดูแลกำรลงทุนในต่ำงประเทศ
ของผู้ลงทุนสัญชำติไทย ให้เคำรพต่อหลักกำรพื้นฐำนด้ำนสิทธิมนุษยชน และต่อมำรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
กำรต่ำงประเทศได้เสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้หน่วยรำชกำรต่ำงๆ ด ำเนินกำรในหลำยประกำร อำทิ
กำรเผยแพร่ควำมรู้และสร้ำงควำมเข้ำใจเกี่ยวกับหลักกำร UNGPs และกำรผลักดันให้ภำคเอกชนมีมำตรกำรที่
ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในด้ำนต่ำงๆ
น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559