Page 26 - รวมพระราชบัญญัติ ระเบียบ และแนวปฏิบัติ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับพกพา)
P. 26
๒๐
๖
(๑) เรื่องที่ผู้ร้องไม่ด าเนินการแก้ไขหรือเพิ่มเติมค าร้องภายในระยะเวลาอันสมควรหรือไม่
สามารถติดต่อผู้ร้องได้
(๒) เรื่องที่ผู้ร้องได้รับการแก้ไขความเดือดร้อนและความไม่เป็นธรรมหรือได้รับการชดใช้
ความเสียหายอย่างเหมาะสมแล้ว
(๓) เรื่องที่ผู้ร้องประสงค์ขอถอนค าร้อง หรือผู้ร้องตาย หรือเป็นคนไร้ความสามารถหรือ
คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนสาบสูญตามค าสั่งศาล โดยไม่มีทายาท หรือผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์
เข้าแทนที่ และการพิจารณาต่อไปจะไม่เป็นประโยชน์ส่วนรวมของชาติและประชาชน
(๔) เรื่องที่คณะกรรมการเคยพิจารณาแล้ว และไม่ปรากฏหลักฐานหรือข้อเท็จจริงใหม่อันอาจ
ท าให้ผลการพิจารณาเปลี่ยนแปลงไป
(๕) เหตุอื่นใดที่เห็นว่าควรไม่รับค าร้องไว้ตรวจสอบ
ส่วนที่ ๓
การประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ข้อ ๒๑ ในกรณีที่อาจแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของผู้ร้องได้ด้วยวิธีการประสานงานกับ
หน่วยราชการ องค์การเอกชน หรือองค์การอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๘ (๔)
หรือการประสานกับบุคคลหรือหน่วยงานอื่นใดในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ผู้ร้อง ให้เจ้าหน้าที่รับ
ค าร้องหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ด าเนินการดังกล่าวได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดไว้
ในระเบียบนี้ โดยค านึงถึงความจ าเป็นเร่งด่วน และเหมาะสมแก่กรณี รวมทั้งต้องใช้ความระมัดระวัง
ตามสมควรเพื่อมิให้เกิดผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้ร้องหรือผู้เกี่ยวข้อง
ข้อ ๒๒ การประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้แก่ผู้ร้อง อาจด าเนินการได้ในกรณี ดังนี้
(๑) ผู้ร้องขอมา
(๒) คณะกรรมการมีมติให้ด าเนินการ
(๓) ส านักงานหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเห็นว่าควรด าเนินการให้แก่ผู้ร้อง
ในกรณีตาม (๒) และ (๓) ให้สอบถามความสมัครใจของผู้ร้องมาพิจารณาประกอบการ
ด าเนินการ
ข้อ ๒๓ ในการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ถ้าหน่วยราชการ องค์การเอกชน หรือ
องค์การอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน หรือบุคคล หรือหน่วยงานอื่นใด ได้แก้ไขปัญหาให้ผู้ร้องตามสมควร
แก่กรณีแล้ว ให้ส านักงานจัดท ารายงานผลการด าเนินการเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาต่อไป
ข้อ ๒๔ ภายใต้บังคับข้อ ๒๓ ในกรณีที่ปรากฏว่าหน่วยราชการ องค์การเอกชน หรือองค์การ
อื่นในด้านสิทธิมนุษยชน หรือบุคคล หรือหน่วยงานอื่นใด ไม่ได้แก้ไขปัญหาให้ผู้ร้องหรือไม่ได้รับแจ้งผลการ