Page 72 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 72
ปลอดภัย ไม่มีความรุนแรงและได้รับอันตราย แม้จุดประสงค์หลักของ พ.ร.บ. คือคุ้มครองป้องกัน
การกระท�ารุนแรงต่อเยาวชนก็ตาม
l พระร�ชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำ�ด้วยคว�มรุนแรงในครอบครัว (๒๕๕๐)
เป็น พ.ร.บ. ที่พยายามป้องกัน และคุ้มครองผู้ถูกกระท�าความรุนแรงภายในครอบครัว ซึ่งเกิด
ขึ้นกับ “บุคคลในครอบครัว” ซึ่งได้นิยามความหมายว่า
“ ‘บุคคลในครอบครัว’ หมายความว่า คู่สมรส คู่สมรสเดิม ผู้ที่อยู่กินหรือเคยอยู่กิน
ฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่ต้องพึ่งพา
อาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน”
โดยมีความค�านึงถึงของการด�ารงอยู่ของสถาบันครอบครัว และคุ้มครองสิทธิผู้ถูกกระท�า
ความรุนแรงเท่านั้น ไม่ได้ค�านึงถึงการคุ้มครองสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ ตั้งแต่มาตรา ๑ - ๑๘ ภายในกรอบ
ของค�าว่า “ความรุนแรงในครอบครัว” ที่ตามมาตรา ๓ หน้า ๑ อธิบายว่า
“ ‘ความรุนแรงในครอบครัว’ หมายความว่า การกระท�าใดๆ โดยมุ่งประสงค์ให้เกิด
อันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ หรือการกระท�าโดยเจตนาในลักษณะที่น่าก่อให้
เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับ หรือใช้อ�านาจ
ครอบง�าผิดคลองธรรมให้บุคคลในครอบครัวต้องกระท�าการ ไม่กระท�าการ หรือยอมรับ
การกระท�าอย่างหนึ่งอย่างใดมิชอบแต่ไม่รวมถึงการกระท�าโดยประมาท”
ซึ่งท�าให้ช่องทางในการท�าความรุนแรงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ใน
ครอบครัวผ่านทาง “ประม�ท” “ไม่ได้มุ่งประสงค์” และ “กระทำ�โดยไม่เจตน�” ได้ และเช่นเดียวกับ
พ.ร.บ. อื่นๆ ข้างต้น พ.ร.บ. ฉบับนี้มองข้ามประเด็นสิทธิในการตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่และ
จะมีเมื่อใดที่คนทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะตัดสินใจอย่างอิสระและรับผิดชอบในเรื่องการมีบุตร ว่าจะ
มีกี่คน ห่างกันกี่ปี และจะมีเมื่อไร ทั้งนี้ ต้องได้รับข้อมูลและวิธีการที่จะสามารถท�าตามที่ตัดสินใจได้
อย่างไรก็ตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ สอดคล้องเป็นการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ (Rights to Life) และสิทธิในความเป็นส่วนตัว (Rights to Privacy) ซึ่งการเก็บ
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ // 71