Page 23 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 23
l กลุ่มเยาวชนชาย อายุระหว่าง ๑๕ - ๒๔ ปี ทั่วไปที่ยังไม่ได้แต่งงาน โดยไม่จ�าเป็นว่าจะ
มีประสบการณ์ทางเพศแล้วหรือไม่ จ�านวน ๒๐ คน
l กลุ่มผู้ปกครองของเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม และกลุ่มเจ้าหน้าที่ขององค์กร
พัฒนาเอกชน ได้แก่ สหทัยมูลนิธิ มูลนิธิดวงประทีป มูลนิธิเสถียรธรรมสถาน
บ้านสายสัมพันธ์ ครู/อาจารย์ของโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี โรงเรียน
หนองชุมแสงวิทยา จังหวัดเพชรบุรี และเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลนครปฐม และโรงพยาบาล
รามาธิบดี จ�านวน ๒๐ คน
ก�รสนทน�กลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) ในกลุ่มเยาวชนชายจ�านวน ๔ กลุ่ม
(กลุ่มละ ๕ คน) ใน ๔ พื้นที่ดังกล่าว
การศึกษาวิจัยเชิงลึกกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อท�าให้ทราบถึงข้อมูล ดังต่อไปนี้
l ทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายต่อประเด็นการตั้งครรภ์ของเยาวชนหญิงโดยไม่พร้อม
l สาเหตุ/เงื่อนไข/ปัจจัยที่ท�าให้เกิดปัญหา รวมถึงผลกระทบต่อเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์
โดยไม่พร้อม ครอบครัว/ชุมชน
l ข้อมูลส�าหรับการตัดสินใจที่จะตั้งครรภ์ต่อ หรือยุติการตั้งครรภ์เพียงพอและรอบด้าน
หรือไม่ อย่างไร
l มีกลไก มาตรการ ข้อมูล การบริการของหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องดังกล่าว ส�าหรับ
การช่วยเหลือเยาวชนหญิงเหล่านี้หรือไม่ อย่างไร
l ชุดประสบการณ์ของเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมด้านการได้รับบริการด้านการ
แพทย์และสวัสดิการสังคมต่างๆ การอยู่ร่วมกับครอบครัว/ชุมชน/สถาบันการศึกษา/สังคม
และสถานการณ์และรูปแบบการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
22 // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน