Page 23 - สิทธิมนุษยชนและงานราชทัณฑ์ : มาตรฐานสากลด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ฉบับพกพา
P. 23
9
7.กำรติดต่อของผู้ต้องขังกับโลกภำยนอก
(Prisoners’ Contact with the Outside World)
ห้ำมผู้ใดแทรกแซงควำมเป็นส่วนตัว ครอบครัว บ้ำน หรือจดหมำยโต้ตอบ
ของผู้ต้องขังโดยพลกำร 84
ผู้ต้องขังทุกคนจะต้องมีสิทธิที่จะสื่อสำรกับโลกภำยนอก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง
กับครอบครัวของตน 85
ผู้ต้องขังที่เป็นชำวต่ำงชำติจะต้องได้รับอนุญำตให้สื่อสำรกับผู้แทนทำงกำรทูต
ของตน 86
ผู้ต้องขังที่ยื่นค�ำขออยู่กับเรือนจ�ำใกล้บ้ำนของตนจะต้องได้รับอนุมัติหำกเป็นไปได้ 87
ผู้ต้องขังจะต้องได้รับทรำบข่ำวสำรที่ส�ำคัญ 88
8.ขั้นตอนในกำรร้องเรียนและกำรตรวจสอบ
(Complaints and Inspection Procedures)
ผู้ใดถูกละเมิดสิทธิและเสรีภำพ มีสิทธิที่จะได้รับกำรเยียวยำอย่ำงมีประสิทธิผล
ตำมที่ศำลจะเป็นผู้พิจำรณำ 89
ผู้ต้องขังทุกคนมีสิทธิที่จะยื่นข้อร้องเรียนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติที่ตนได้รับ และถ้ำ
ค�ำร้องนั้นไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย จะต้องมีกำรดูแลโดยทันที และหำกมีกำรร้องขอ
จะต้องมีกำรรักษำควำมลับ และหำกจ�ำเป็นอำจมีกำรยื่นค�ำร้องแทนผู้ต้องขังได้
โดยผู้แทนทำงกฎหมำยของผู้ต้องขัง หรือโดยครอบครัว 90
หลังจำกรับตัวผู้ต้องขังแล้ว ทุกคนจะต้องได้รับข้อมูลเป็นลำยลักษณ์อักษรเรื่อง
ระเบียบและกำรร้องเรียน และขั้นตอนลงโทษทำงวินัย ในภำษำที่พวกเขำเข้ำใจได้
ในบำงกรณีที่จ�ำเป็น ควรมีกำรอธิบำยกฎระเบียบดังกล่ำวด้วยวำจำ 91
หำกค�ำร้องเรียนถูกปฏิเสธ หรือไม่ได้รับค�ำตอบภำยในเวลำอันควร ผู้ร้องเรียน
มีสิทธิที่จะยื่นค�ำร้องต่อหน่วยงำนในกระบวนกำรยุติธรรมหรือหน่วยงำนอื่น 92
สิทธิมนุษยชนและงานราชทัณฑ์ :
มาตรฐานสากลด้านสิทธิมนุษยชนส�าหรับเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ฉบับพกพา