Page 76 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 76

๔๙



                                 (4) การถอนสภาพการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือถอนการหวงห้าม ที่รำชพัสดุ

                   เฉพำะที่ดินเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพำะ เมื่อเลิกใช้
                   เพื่อประโยชน์เช่นนั้นหรือเมื่อสิ้นสภำพกำรเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินแล้ว หรือที่รำชพัสดุ

                   ที่ทำงรำชกำรหวงห้ำมไว้และทำงรำชกำรไม่ประสงค์จะหวงห้ำมอีกต่อไป ให้ถอนสภำพกำรเป็นสำธำรณ

                   สมบัติของแผ่นดิน หรือถอนกำรหวงห้ำมแล้วแต่กรณี โดยตรำเป็น พระรำชกฤษฎีกำ และให้มีแผนที่
                   แสดงเขตที่ดินแนบท้ำยพระรำชกฤษฎีกำนั้นด้วย



                                 การบังคับใช้กฎหมาย


                                 กฎหมำยที่รำชพัสดุเป็นกฎหมำยที่คุ้มครองป้องกันที่ดินของรัฐที่ใช้เพื่อประโยชน์

                   ของแผ่นดินหรือที่ทำงรำชกำรสงวนหวงห้ำม อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินที่ต้องปกครองดูแล
                   บ ำรุงรักษำ ใช้ หรือน ำไปจัดหำประโยชน์ จึงเป็นผลประโยชน์ที่ได้กับรัฐโดยตรง


                                 ปัญหาอุปสรรค ข้อจ ากัดของกฎหมาย และการแก้ไข



                                 เนื่องจำกที่รำชพัสดุมีอยู่อย่ำงกระจัดกระจำยทั่วประเทศ มีกำรใช้ประโยชน์หรือสงวนไว้ใช้

                   ประโยชน์ในรำชกำร และจัดให้เช่ำ จึงปรำกฏว่ำมีกำรบุกรุกที่ดินในบำงพื้นที่ เช่น ที่ดินใช้ในรำชกำรทหำร
                   กำรแก้ไขปัญหำผู้บุกรุกไม่อำจใช้กฎหมำยบังคับได้โดยตรง เพรำะกระทบกับกำรเมืองกำรปกครอง ดังนั้น

                   กำรแก้ไขปัญหำจึงต้องเจรจำและท ำควำมเข้ำใจ มีกลไกและวิธีกำรในกำรพิสูจน์สิทธิว่ำทำงรำชกำรหรือ

                   ประชำชนมีสิทธิดีกว่ำ และมีแนวทำงมำตรกำรให้เช่ำหำกพิสูจน์แล้วเป็นสิทธิของทำงรำชกำร เป็นต้น

                   (กรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช, 2557 /ศูนย์ศึกษำนโยบำยที่ดิน คณะนิติศำสตร์ จุฬำลงกรณ์

                   มหำวิทยำลัย, 25๕๗)


                   2.๒ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนและการมีส่วนร่วมของประชาชน


                          2.2.1 ค าจ ากัดความของค าที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา


                                 “สิทธิมนุษยชน”  ตำมพระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. 2542

                   หมำยถึง ศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภำพ และควำมเสมอภำคของบุคคลที่ได้รับกำรรับรองหรือ

                   คุ้มครองตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย หรือตำมกฎหมำยไทย หรือตำมสนธิสัญญำที่ประเทศไทย
                   มีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตำม.แต่หำกพิจำรณำตำมปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน.(Universal

                   Declaration  of  Human  Rights)  ไม่มีนิยำมค ำว่ำ “สิทธิมนุษยชน”  ไว้โดยเฉพำะเจำะจง แต่เมื่อ

                   พิจำรณำเนื้อหำของปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน.ข้อ 1 ก ำหนดว่ำ “มนุษย์ทั้งหลำยเกิดมำอิสระเสรี

                   และเท่ำเทียมกันทั้งศักดิ์และสิทธิ ทุกคนได้รับกำรประสิทธิประสำทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติ
                   ต่อกันอย่ำงฉันพี่น้อง” ข้อ 2 ก ำหนดว่ำ “(1) ทุกคนย่อมมีสิทธิและเสรีภำพบรรดำที่ก ำหนดไว้ในปฏิญญำ
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81