Page 60 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 60
๓๓
ปัญหาอุปสรรค ข้อจ ากัดของกฎหมาย และการแก้ไข
กำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมใช้เป็นเครื่องมือของรัฐในกำรปรับปรุงสิทธิและกำรถือ
ครองที่ดินในช่วงที่เกษตรกรมีปัญหำต้องสูญเสียที่ดินท ำกินและต้องตกเป็นผู้เช่ำที่ดิน ถูกเอำเปรียบในกำร
เช่ำที่ดินเพื่อเกษตรกรรม แต่ต่อมำรัฐได้ปรับปรุงกฎหมำยและใช้กำรปฏิรูปที่ดินเป็นเครื่องมือในกำรแก้ไข
ปัญหำกำรบุกรุกที่ดินของรัฐ ซึ่งกำรแก้กฎหมำยดังกล่ำวท ำให้มีปัญหำในเรื่องคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับ
ควำมช่วยเหลือจึงเป็นปัญหำของกำรปฏิรูปที่ดินตลอดมำ ส.ป.ก. จึงพยำยำมขอแก้ไขกฎหมำยให้เกิดควำม
ชัดเจนและแยกประเภทของที่ดินเพื่อกำรแก้ปัญหำอย่ำงถูกต้อง นอกจำกนั้นยังได้ขอปรับปรุงแนวทำงกำร
คุ้มครองที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยไม่ห้ำมโอนตลอดไป แต่ควบคุมที่ดินว่ำจะต้องใช้เพื่อกำรเกษตรกรรม
เท่ำนั้น
(ส ำนักงำนกำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม, ๒๕๕๘/ศูนย์ศึกษำนโยบำยที่ดิน คณะนิติศำสตร์ จุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย, 25๕๗)
2.1.๔ กรมป่าไม้ :
2.1.๔.๑ พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484
ความเป็นมา
เป็นกฎหมำยเกี่ยวกับกำรควบคุมและกำรอนุญำตให้ท ำไม้ในป่ำ โดยมีกำรแก้ไขมำ
หลำยครั้ง คือ
(1) พระรำชบัญญัติป่ำไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2503 เป็นกำรแก้ไขเพื่อเพิ่มบทก ำหนดโทษ
ให้ผู้กระท ำผิดเกรงกลัว หรือเข็ดหลำบ เป็นกำรป้องกันกำรท ำลำยป่ำไม้อันเป็นทรัพยำกรของชำติ
(2) พระรำชบัญญัติป่ำไม้ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2518 แก้ไขบำงมำตรำเพื่อให้มีข้อควำมรัดกุม
และเหมำะสมกับกำลสมัยมำกขึ้น เพื่อคุ้มครองและบ ำรุงรักษำป่ำไม้อันเป็นทรัพยำกรธรรมชำติให้ได้ผลดี
ยิ่งขึ้น
(3) พระรำชบัญญัติป่ำไม้ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2532 เป็นกำรเพิ่มเติมอัตรำโทษให้สูงขึ้น
ให้เหมำะสมแก่สภำวกำรณ์
(๔) พระรำชก ำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระรำชบัญญัติป่ำไม้ พุทธศักรำช 2484 พ.ศ. 2532
มีสำระส ำคัญเกี่ยวกับกำรท ำไม้ในป่ำหรือกำรเก็บหำของป่ำ กำรเก็บค่ำภำคหลวงไม้และของป่ำ
กำรประทับตรำไม้ กำรน ำไม้และของป่ำเคลื่อนที่ กำรควบคุมไม้ในล ำน้ ำ กำรควบคุมกำรแปรรูปไม้และ
กำรแผ้วถำงป่ำ และกำรให้อ ำนำจแก่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐในกำรที่จะยับยั้งกำรท ำไม้ออกจำกป่ำที่ได้เปิดกำร
ท ำไม้โดยให้สัมปทำนไปแล้วได้ และกำรก ำหนดให้สัมปทำนที่มีพื้นที่อยู่ในเขตอุทยำนแห่งชำติหรือเขตรักษำ