Page 55 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 55
๒๘
๔. กำรจัดที่ดินเพื่อประกอบกิจกำรสนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับกำรปฏิรูปที่ดิน
๕. กำรยินยอมให้ใช้ทรัพยำกรธรรมชำติในเขตปฏิรูปที่ดิน
ที่ดินที่น ำมำด ำเนินกำรปฏิรูปที่ดิน : ที่ดินของรัฐ และที่ดินเอกชน
ที่ดินของรัฐ : ส.ป.ก. ด ำเนินกำรจัดที่ดินให้เกษตรกรที่ถือครองท ำประโยชน์อยู่ก่อนแล้ว
ในทุกพื้นที่ โดยเป็นกำรรับรองสิทธิกำรถือครองให้ถูกต้องตำมกฎหมำย และเป็นกำรแก้ไขปัญหำของ
สังคม โดยมีขั้นตอนกำรด ำเนินงำนตำมล ำดับ ๓ ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ ๑ : โดยกำรให้สิทธิอนุญำตให้เข้ำท ำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก. ๔-
๐๑) กรรมสิทธิ์ในที่ดินยังเป็นของ ส.ป.ก.
ขั้นตอนที่ ๒ : โดยกำรให้เกษตรกรที่ได้รับอนุญำตให้เข้ำท ำประโยชน์ตำมขั้นตอนที่ ๑
ท ำสัญญำเช่ำ หรือเช่ำซื้อ ตำมที่เกษตรกรแจ้งควำมจ ำนง
ขั้นตอนที่ ๓ : โดยกำรโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน (โฉนดที่ดิน) ให้เกษตรกรหลังจำกช ำระค่ำ
เช่ำซื้อครบตำมก ำหนด (เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ แต่เป็นกรรมสิทธิ์ที่มีเงื่อนไขก ำหนดตำมมำตรำ ๓๙)
ที่ดินเอกชน : ส.ป.ก. จัดซื้อหรือได้รับบริจำค จะจัดให้เกษตรกรเช่ำ หรือ เช่ำซื้อ
เมื่อช ำระค่ำเช่ำซื้อเสร็จสิ้น ส.ป.ก. โอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน (โฉนดที่ดิน) ให้เกษตรกรตำมล ำดับ ส่วนที่ดิน
พระรำชทำนจะให้เกษตรกรเช่ำเพียงอย่ำงเดียว
โฉนดที่ดินที่เกษตรกรได้รับจำกกำรปฏิรูปที่ดินฯ จะตกอยู่ภำยใต้บังคับมำตรำ ๓๙ คือ
จะท ำกำรแบ่งแยกหรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่ตกทอดทำงมรดกแก่ทำยำทโดยธรรม
หรือโอนไปยังสถำบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก.
ดังนั้น สิทธิในที่ดินของเกษตรกรที่ได้รับจำกกำรปฏิรูปที่ดินมี ๓ อย่ำง คือ หนังสือ
อนุญำตให้เข้ำท ำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก. ๔-๐๑) สัญญำเช่ำ หรือเช่ำซื้อ และ โฉนดที่ดิน
(กรรมสิทธิ์มีเงื่อนไข) ตำมล ำดับ
ผู้มีสิทธิได้รับกำรจัดที่ดิน
ผู้ที่มีสิทธิได้รับกำรจัดที่ดิน จะต้องเป็นเกษตรกรตำมควำมหมำยที่ก ำหนดไว้ใน
มำตรำ ๔ แห่งพระรำชบัญญัติกำรปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ (แก้ไขเพิ่มเติม) ฉบับที่ ๓
พ.ศ. ๒๕๓๒ ดังนี้
๑. ผู้ประกอบอำชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
๒. ผู้ประสงค์จะเป็นเกษตรกรที่ไม่มีที่ดินท ำกินเป็นของตนเอง ๓
ประเภท คือ