Page 31 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 31
4
ที่เกี่ยวข้องอันส าคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการที่ดินสงวนหวงห้ามของรัฐ
ด้านแนวเขต ประกอบด้วย
ข้อ ๓. การลดความเหลื่อมล ้าของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ
3.7 แก้ปัญหาการไร้ที่ดินท้ากินของเกษตรกรและการรุกล ้าเขตป่าสงวน โดยการ
กระจายสิทธิการถือครองให้แก่ผู้ที่อยู่ในพื นที่ที่ไม่ได้รุกล ้า และออกมาตรการป้องกันการเปลี่ยนมือไปอยู่
ในครอบครองของผู้ที่มิใช่เกษตรกร ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมส้ารวจและวิธีการแผนที่ที่ทันสมัย แก้ไขปัญหา
เขตที่ดินทับซ้อนและแนวเขตพื นที่ป่าที่ไม่ชัดเจน
ข้อ ๙. การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้
ประโยชน์อย่างยั่งยืน
9.1 ในระยะเฉพาะหน้า เร่งปกป้องและฟื้นฟูพื นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
โดยให้ความส้าคัญในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พร้อมส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ
ในพื นที่เอกชน เพื่อลดแรงกดดันในการตัดไม้จากป่าธรรมชาติ
9.2 ในระยะต่อไป พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดินและแก้ไขการบุกรุกที่ดินของรัฐ
โดยยึดแนวพระราชด้าริที่ให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ เช่น การก้าหนดเขตป่าชุมชนให้ชัดเจน
ข้อ ๑๐. การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบในภาครัฐ
10.2 ในระยะแรก ส่วนใหญ่กระจายอ้านาจเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริหาร
สาธารณะได้รวดเร็ว ทั งจะวางมาตรการทางกฎหมาย มิให้เจ้าหน้าที่หลีกเลี่ยง ประวิงเวลา หรือใช้อ้านาจ
โดยมิชอบก่อให้เกิดการทุจริต หรือสร้างความเสียหายแก่ประชาชนโดยเฉพาะนักลงทุน
จะเห็นได้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ก าหนด
ในมาตรา ๓๕ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดท าร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุม ในหลัก
ธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับตอบสนองต่อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน และมีกลไก
การตรวจสอบ รวมทั้งค าแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่ก าหนดการแก้ไขปัญหาเขตที่ดินทับซ้อนและ
แนวเขตพื้นที่ป่าที่ไม่ชัดเจน แก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดินและแก้ไข
การบุกรุกที่ดินของรัฐ โดยยึดแนวพระราชด าริที่ให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ และกระจายอ านาจ
เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะได้รวดเร็ว นับได้ว่าเป็นการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนแนว
เขตที่ก าหนดโดยรัฐ ซึ่งไม่ด าเนินการตรวจสอบในพื้นที่จริงก่อนการก าหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้าม
ของรัฐและไม่มีการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินงาน
ดังนั้น จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาวิจัย เรื่อง “แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ” โดยศึกษาถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนแนวเขตที่ดิน
ของเขตอนุรักษ์กับที่ดินของรัฐประเภทอื่นๆ ที่รัฐจัดสรรให้กับประชาชน เช่น ที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินของ