Page 162 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 162

๑๓๕



                   มากกว่าภาพถ่ายทางอากาศ ทั้งนี้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จะใช้แนวเขตที่เคยท าไว้ในปี

                   พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยยึดหลักตามข้อเท็จจริงที่มิใช่การบุกรุกใหม่

                                       ข้อคิดเห็นและข้อเสนอของประชาชน

                                       (๑) ให้อุทยานแห่งชาติถ้ าผาไทร่วมกับชุมชน ด าเนินการรังวัดและกันพื้นอยู่อาศัย

                   ที่ท ากิน และป่าชุมชนออกจากอุทยานแห่งชาติ

                                       (๒) ให้ด าเนินการเตรียมความพร้อมให้กับชุมชนก่อน เช่น กรณีบ้านกลาง ต าบล
                   บ้านดง อ าเภอแม่เมาะ จังหวัดล าปาง ซึ่งเป็นชุมชนชาวกะเหรี่ยงเก่าแก่กว่า ๑๐๐ ปี ชุมชนมีวิถีชีวิต

                   วัฒนธรรมที่เกี่ยวพันกับป่า รวมทั้งการท าการเกษตรในระบบท าไร่หมุนเวียนโดยไม่ท าลายป่า นอกจากนั้น
                   ชุมชนยังมีการจัดการที่ดินและป่าไม้ ได้แก่ การจัดตั้งคณะกรรมการดูแลควบคุม ก าหนดกฎระเบียบ

                   ด้านป่าไม้และที่ดิน

                                       (๓) จัดท าแนวเขตอุทยานแห่งชาติถ้ าผาไทในพื้นที่ให้ชัดเจน และประชาสัมพันธ์

                   ให้ชาวบ้านรับทราบว่าแนวเขตอยู่บริเวณใด ซึ่งจะช่วยป้องกันการบุกรุกป่าใหม่ ที่ส าคัญต้องให้ชุมชน
                   รับทราบและเข้าใจการด าเนินการของรัฐ ดังนั้น การเข้าไปชี้แจง การให้ข้อมูลกับชุมชนจึงเป็นขั้นตอนที่

                   ส าคัญ

                                       (๔) ให้อุทยานแห่งชาติถ้ าผาไท ส่งหนังสือแจ้งไปยังทุกต าบล เรื่อง การตั้ง
                   คณะท างานระดับต าบลเพื่อพิสูจน์สิทธิ เพื่อก าหนดแนวเขตอุทยานแห่งชาติถ้ าผาไท ทั้งนี้ เพื่อให้

                   ผู้ปกครองท้องที่และชาวบ้านรับทราบข้อมูลข่าวสาร และให้ความร่วมมือในการด าเนินการ

                                       (๕) ให้อุทยานแห่งชาติถ้ าผาไท แจ้งผลการด าเนินการรังวัดให้ชุมชนรับทราบ

                   ก่อนด าเนินการประกาศอุทยานแห่งชาติ ทั้งนี้ เพื่อให้ชุมชนได้ตรวจสอบหรือมั่นใจว่าเป็นไปตามแนวเขตที่
                   ได้มีการก าหนดร่วมกันกับชุมชนหรือไม่


                          4.๑.๖ กรณีแนวเขตอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็นทับซ้อนที่ดินท ากิน พื้นที่อ าเภอเวียงสระ

                                 อ าเภอนาสาร และอ าเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี


                                 (๑) ปัญหาการทับซ้อนแนวเขตที่ดินของรัฐในพื้นที่

                                       ข้อขัดแย้งจากการประกาศอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น เกิดขึ้นเมื่อประชาชน

                   ถูกเจ้าหน้าที่ห้ามเข้าเก็บเกี่ยวผลผลิต หลังจากประกาศอุทยานฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จากนั้นเป็นต้นมา
                   ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการประกาศอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น อ าเภอเวียงสระ อ าเภอนาสาร และ
                   อ าเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ด าเนินร้องเรียนกับหน่วยงานรัฐให้แก้ไขแนวเขตอุทยาน

                   แห่งชาติใต้ร่มเย็นทับซ้อนกับที่ดินท ากินของประชาชน รวมระยะเวลายาวนานกว่า ๒๐ ปี

                                       กรมป่าไม้ (ในขณะนั้น) และอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น ได้มีการด าเนินการ

                   ปรับปรุงแนวเขตอุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้ข้อยุติในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ว่า มีที่ดิน
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167