Page 110 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 110
๘๓
ตระหนักถึงควำมส ำคัญของป่ำชำยเลน จึงได้มีกำรควบคุมดูแลและอนุรักษ์พื้นที่โดยให้ด ำเนินกำรตำมมติ
คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวำคม พ.ศ. 2530 ซึ่งเป็นมติหลักในกำรก ำหนดพื้นที่ป่ำชำยเลนโดยกำร
จ ำแนกเขตกำรใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่ำชำยเลนของประเทศไทยออกเป็น 3 เขต คือ เขตอนุรักษ์
เขตเศรษฐกิจ ก. และเขตเศรษฐกิจ ข. โดยเขตอนุรักษ์ คือ พื้นที่ป่ำชำยเลนที่ห้ำมไม่ให้มีกำรเปลี่ยนแปลงใดๆ
นอกจำกจะปล่อยให้เป็นไปตำมธรรมชำติเพื่อรักษำไว้ซึ่งสภำพแวดล้อมและระบบนิเวศ เขตเศรษฐกิจ ก.
คือ พื้นที่ป่ำชำยเลนที่ยอมให้มีกำรใช้ประโยชน์เฉพำะกิจกำรด้ำนป่ำไม้เพื่อผลผลิตที่สม่ ำเสมอตำมหลัก
วิชำกำรป่ำไม้ และเขตเศรษฐกิจ ข. คือ พื้นที่ป่ำชำยเลนที่ยอมให้มีกำรใช้ประโยชน์ที่ดินและกำรพัฒนำ
ด้ำนอื่นๆ ได้ แต่ต้องค ำนึงถึงผลดีและผลเสียทำงด้ำนสิ่งแวดล้อม
(อิทธิพล ศรีเสำวลักษณ์ และคณะ, ๒๕๔๙)
3.๓ ผลตามกฎหมายที่ท าให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติ
จำกข้อมูลกำรก ำหนดพื้นที่ส ำหรับกิจกำรของรัฐ ซึ่งได้จ ำแนกออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ ดังกล่ำว
ข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำกำรก ำหนดแนวเขตพื้นที่หวงห้ำมส ำหรับใช้ประโยชน์ของทำงรำชกำร ที่ดิน
สำธำรณประโยชน์ที่ให้ประชำชนใช้ร่วมกัน และกำรก ำหนดพื้นที่หวงห้ำมประเภทที่ดินป่ำไม้นั้น เริ่มต้น
จำกกำรก ำหนดหวงห้ำมพื้นที่ โดยฝ่ำยปกครอง และพัฒนำขึ้นเป็นกฎหมำยเฉพำะของหน่วยงำนรำชกำร
ที่มีหน้ำที่ดูแลพื้นที่แต่ละประเภทซึ่งก ำหนดให้ต้องมีกำรจัดท ำแผนที่แสดงพื้นที่หวงห้ำมแนบท้ำยกฎหมำย
หรือมติคณะรัฐมนตรีด้วย ซึ่งอำจสรุปประเด็นปัญหำจำกกรณีดังกล่ำวได้ ดังนี้
3.3.๑ การประกาศหวงห้ามพื้นที่โดยอาศัยอ านาจของ่าายปกครองประเภทที่ดิน
ที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
กำรประกำศหวงห้ำมพื้นที่โดยอำศัยอ ำนำจของฝ่ำยปกครองประเภทที่ดินที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
เช่น ที่ท ำเลสำธำรณประโยชน์ ประกำศของสมุหเทศำภิบำล มณฑลภูเก็ต ประกำศของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ซึ่งเป็นกำรประกำศที่ใช้กำรระบุอำณำเขตแนวเขตพื้นที่โดยประมำณ เมื่อได้มีพระรำชบัญญัติ ว่ำด้วยกำร
หวงห้ำมที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 ใช้บังคับแล้วพื้นที่หวงห้ำมเดิม
บำงส่วนมีกำรน ำมำประกำศตำมมำตรำ ๗ ของพระรำชบัญญัติฉบับนี้ รวมทั้งพื้นที่ที่ประสงค์จะประกำศ
หวงห้ำมเพื่อใช้ในรำชกำรประเภทต่ำงๆ ด้วย โดยต้องจัดท ำเป็นพระรำชกฤษฎีกำและมีแผนที่แนบท้ำย
กำรจัดท ำแผนที่เป็นไปตำมวิธีกำรรังวัด ในขณะที่มีกำรประกำศ ต่อมำเมื่อพระรำชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมำยที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ใช้บังคับ ซึ่งมีผลเป็นกำรยกเลิกพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรหวงห้ำมที่ดินรกร้ำง
ว่ำงเปล่ำอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 และมีบทบัญญัติตำมประมวลกฎหมำยที่ดิน
ให้อ ำนำจในกำรรังวัดท ำแผนที่เพื่อออกหนังสือส ำคัญส ำหรับที่หลวง (น.ส.ล.) ในที่ดินหวงห้ำมประเภทนี้
วัตถุประสงค์ที่ส ำคัญคือควำมต้องกำรในกำรก ำหนดแนวเขตที่ดินหวงห้ำมให้มีควำมชัดเจน แต่เมื่อ
เข้ำด ำเนินกำรในพื้นที่ที่มีกำรหวงห้ำมตำมกำรประกำศก ำหนดพื้นที่โดยประมำณ ก็ยังคงด ำเนินกำร
ด้วยวิธีกำรรังวัดท ำแผนที่ในขณะนั้นเช่นเดียวกัน แต่ที่ดินหวงห้ำมที่มีกำรรังวัดเพื่อออก น.ส.ล.นั้น